ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การควบคุมและกำกับดูแล
งานโฆษณา February 2013
2
สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย
8 เมษายน 2509 2558 49 ปี
3
ทำไม? กฏหมายควบคุมโฆษณา 30 กว่าฉบับ กสทช. กับ digital TV
4
Ad Control Development
-กฎหมายคุมประเด็นสำคัญ + จรรยาบรรณ -รัฐเซ็นเซอร์สินค้าเฉพาะ -มี SRO ตัดสินแทนรัฐ -Pre-clearance -กฎหมายมีรายละเอียดมาก -เซ็นเซอร์โดยหน่วยงานรัฐ -กฎหมายคุมประเด็นสำคัญ + จรรยาบรรณ --มี independent SRO Government Control Co- regulation Self-regulation No Regulation -China -Vietnam -Russia -Mexico -Indonesia -Thailand? -USA -UK -Canada -New Zealand -Australia -Philippines 4
5
Freedom of Speech + Consumer Protection + Social Responsibility
Thai Ad Control ยกเลิกกบว. 2537 SR 2549 SR Organization Government Control Co- regulation Self-regulation No Regulation Freedom of Speech + Consumer Protection + Social Responsibility 5
6
การควบคุม-กำกับดูแลโฆษณา 2556
Censor โดยสมาคมฯ + TV Digital TV FREE TV โฆษณา รัฐ สอดส่อง ตรวจสอบ ลงโทษ ผู้บริโภค ร้องเรียน บีบรัฐให้ออกกฎหมาย สินค้าขึ้นทะ เบียนสินค้าเฉพาะต้องขอ อนุ ญาต Cable & Satellite Radio ? Print OOH Internet/Mobile 6
7
ประเด็นโฆษณา ที่รัฐได้รับการร้องเรียน
8
กฏหมายใหม่จะตามมาอีกเยอะ ถ้าไม่กำกับดูแลกันเอง โดยเฉพาะใน เคเบิ้ลทีวีและทีวีดาวเทียม
9
การกำกับดูแลกันเอง และ
จรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพโฆษณา
10
วัตถุประสงค์ของการริเริ่ม กระบวนการกำกับดูแลตนเองของอุตสาหกรรมโฆษณา
เพื่อยกระดับวิชาชีพขึ้นสู่มาตรฐานสากล มีเสรีภาพในการทำงาน พร้อมกับมีความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้บริโภค เพื่อใช้เป็นมาตรการในการเจรจาต่อรองกับการออกกฏหมาย/ ระเบียบควบคุมโฆษณาใหม่ ๆ ที่เป็นการจำกัดเสรีภาพใน การสื่อสารและการทำธุรกิจ
11
จรรยาบรรณวิชาชีพ การกำกับดูแลกันเอง
บังคับใช้ตั้งแต่ปี 2519 เดิมมีจรรยาบรรณ 16 ข้อ ปรับปรุงใหม่ปี 2546 ปัจจุบันมี 10 ข้อ การกำกับดูแลกันเอง ประกาศใช้ในกฎข้อบังคับสมาคมฯ ในปี 2549 มีคณะกรรมการจรรยาบรรณฯ ชุดแรกปี 2551
12
จรรยาบรรณวิชาชีพโฆษณา
หลักการ ถูกกฏหมาย ซื่อสัตย์ จริงใจ มีรสนิยม แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ภายใต้หลักการแข่งขันที่เป็นธรรม
13
ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
จรรยาบรรณวิชาชีพ 1* ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตามหลักปฏิบัติและวิชาการ และอยู่ภายใต้บทบัญญัติแห่งกฏหมาย * มีคำสั่งให้หลีกเลี่ยงการโฆษณา UNBRAND Enfagrow Ginsenocine Brand’s Carabao
14
อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
จรรยาบรรณวิชาชีพ 2 ไม่กระทำการใด ๆ อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
15
จรรยาบรรณวิชาชีพ 3 มีความรับผิดชอบต่อสังคม
และไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียในจริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงาม Chinmai สินมั่นคง
16
จรรยาบรรณวิชาชีพ 4 ไม่กระทำการโฆษณาอันเป็นการดูหมิ่นเชื้อชาติ ศาสนา หรือ ความเชื่อ หรือ สิ่งอันเป็นที่เคารพสักการะของบุคคลทั่วไป
17
จรรยาบรรณวิชาชีพ 5 ไม่กระทำการโฆษณา อันทำให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้า บริการ การแสดง หรือ อื่น ๆ หรือ โอ้อวดสรรพคุณจนเกินความจริงจนทำให้ผู้เห็นหรือผู้ฟังเกิดความสำคัญผิด TOA เณรคำ
18
โดยใช้ความเชื่อถือเกี่ยวกับไสยศาสตร์ หรือ เรื่องโชคลางมาเป็นข้อจูงใจ
จรรยาบรรณวิชาชีพ 6 ไม่กระทำการโฆษณา โดยใช้ความเชื่อถือเกี่ยวกับไสยศาสตร์ หรือ เรื่องโชคลางมาเป็นข้อจูงใจ
19
จรรยาบรรณวิชาชีพ 7 ไม่กระทำการโฆษณา
โดยการเลียนแบบเครื่องหมายการค้า คำขวัญ ข้อความสำคัญ หรือ อื่น ๆ จากการโฆษณาของผู้อื่น อันทำให้ผู้อื่นเห็น หรือได้ยินจนเกิดความเข้าใจผิด หรือไขว้เขวเกี่ยวกับสินค้า บริการ หรือการแสดงของผู้อื่น Nivea Pantene Pond Axe
20
จรรยาบรรณวิชาชีพ 8* ไม่กระทำการโฆษณาโดยใช้ศัพท์สถิติ
ผลการวิจัย หรืออ้างอิงรายงานทางวิทยาศาสตร์ ในทางที่ไม่สมควร หรือทำให้เกิดความเข้าใจผิดโดยที่สินค้านั้นไม่มีคุณสมบัติตามที่อ้าง * มีรายละเอียดแนวทางปฏิบัติ
21
ไม่ได้ใช้สินค้า หรือ บริการ หรือชมการแสดงนั้นจริง
จรรยาบรรณวิชาชีพ 9 ไม่กระทำการโฆษณา โดยอ้างถึงตัวบุคคล หรือสถาบัน โดยที่ตัวบุคคลหรือสถาบันนั้นไม่มีตัวตนอยู่จริง และ ไม่ได้ใช้สินค้า หรือ บริการ หรือชมการแสดงนั้นจริง
22
* มีรายละเอียดแนวทางปฏิบัติ
จรรยาบรรณวิชาชีพ 10* ไม่กระทำการโฆษณาอันอาจมีผลเป็นอันตรายต่อเด็ก หรือผู้เยาว์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ หรือ ทำให้ ขาดความรู้สึกผิดชอบ หรือ โดยอาศัย ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของบุคคลดังกล่าว มาใช้เป็นเครื่องมือในการจูงใจโดยไม่สมควร * มีรายละเอียดแนวทางปฏิบัติ
23
โครงสร้างของคณะกรรมการจรรยาบรรณวิชาชีพโฆษณา
ตัวแทนจากนักวิชาการด้านโฆษณา คณะกรรมการ จรรยาบรรณวิชาชีพโฆษณา ตัวแทนสมาคมโฆษณาฯ ตัวแทนสมาคมการตลาดฯ ตัวแทนจากสื่อมวลชน ตัวแทนองค์กรเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ตัวแทนจากหน่วยงานต่าง ๆ หน่วยงานละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 15 คน
24
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
พิจารณาและวินิจฉัยตัดสิน กรณีอันเป็นปัญหา เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ วิชาชีพโฆษณา ออกข้อบังคับและแนว ปฏิบัติว่าด้วย จรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพโฆษณา
25
กระบวนการพิจารณาและตัดสิน
การพิจารณาตัดสินกรณีร้องเรียน ใช้มติเสียงข้างมาก ในกรณีที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณา สามารถยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 10 วันทำการ (ต้องเสียค่าธรรมเนียม ตามที่สมาคมฯ กำหนด) คณะกรรมการอุทธรณ์จะเป็นคณะกรรมการคนละชุดกันกับ คณะกรรมการฯในชั้นพิจารณาเรื่องร้องเรียน
26
วาระการดำรงตำแหน่ง กรรมการจรรยาบรรณวิชาชีพโฆษณามีวาระการดำรงตำแหน่ง คราวละ 2 ปี ตามวาระของคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ
27
สมาคมโฆษณาฯ ต้องทำอะไร
28
ประสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนให้เกิด “SRO”
29
คนโฆษณา ต้องทำอะไร
30
ทำโฆษณา ด้วยสำนึกรับผิดชอบ
31
สนับสนุน การกำกับดูแลกันเอง
32
ถาม-ตอบ
33
Appendix
34
กฎหมายและ/ระเบียบที่ใช้ควบคุมการโฆษณาปัจจุบัน:
พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค พรบ. อาหาร พรบ. ยา พรบ. เครื่องสำอาง พรบ. เครื่องมือแพทย์และวัตถุมีพิษ พรบ. การพนัน (กำลังร่างพรบ.ชิงโชค) กฎหมายธุรกิจเฉพาะอื่น ๆ เช่น พรบ.สถาบันการเงิน, สถานพยาบาล, ประกันชีวิต ฯลฯ พรบ. ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
35
สาระสำคัญของกฏ/ระเบียบควบคุมโฆษณา:
ห้ามโฆษณาเป็นเท็จ/หลอกลวงผู้บริโภค/โอ้อวดเกินจริง ห้ามมอมเมาเยาวชน/กระตุ้นให้เกิดความต้องการเกินจำเป็น ห้ามโฆษณาสร้างค่านิยมผิด ๆ / ทำลายวัฒนธรรม ห้ามลามกอนาจาร/ทำให้เสื่อมเสียศีลธรรม ห้ามเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ห้ามโฆษณาไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคและคู่แข่งทางธุรกิจ ห้ามโฆษณากระตุ้นส่งเสริมให้ทำผิดกฏหมาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.