งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA

2 โครงร่างองค์กร

3 เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
OBECQA ปี มีบทบาทในการสร้างเสริมความสามารถในการแข่งขัน 3 ประการ คือ • ช่วยปรับปรุงกระบวนการ ขีดความสามารถ และผลลัพธ์ • ช่วยกระตุ้นการสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างองค์กรต่าง ๆ ผ่านงาน OBECQA และการเยี่ยมชมกิจการโรงเรียนที่ได้รับรางวัล • เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ในการทำความเข้าใจและใช้ในการบริหารจัดการผลการดำเนินการของโรงเรียน ชี้นำความคิดในเชิงกลยุทธ์และสร้างโอกาสในการเรียนรู้

4 OBECQA และการยอมรับจากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
1.ระบบการรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล ( HA) 2. ระบบการประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ ( SEPA) 3. ระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA) 4. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (EdPEx) 5. เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA)

5 เจตจำนงที่เรียบง่‹ายของเกณฑ์ฯ OBECQA
การช่วยโรงเรียน ไม่ว่าขนาดใดหรืออยู่ในสังกัดใด ตอบคำถามที่ท้าทาย 3 ข้อดังนี้ : โรงเรียนดำเนินการได้ดีเท่าที่ควรเป็นหรือไม่ โรงเรียนรู้ได้อย่างไร โรงเรียนควรปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงอะไร ด้วยวิธีการอย่างไร

6 1 5 9 2 6 10 3 7 11 4 8 มุมมองเชิงระบบ จริยธรรมและ ความโปร่งใส 12
ลักษณะที่สำคัญของเกณฑ์ OBECQA : Key Core Values … 1 5 9 มุมมองเชิงระบบ การเรียนรู้ขององค์การ และความคล่องตัว ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 2 6 10 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นความสำเร็จ จริยธรรมและ ความโปร่งใส 3 7 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นนักเรียน การส่งมอบคุณค่า และผลลัพธ์ การจัดการเพื่อ นวัตกรรม 4 12 8 การให้ความสำคัญ กับบุคลากร การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6

7 เกณฑ์ทั้ง 7 หมวดประกอบด้วยหัวข้อและประเด็นพิจารณา
หัวข้Œอ มีทั้งหมด หมวด 1-6 = หัวข้อ + โครงร่าง = 2 หัวข้อ ข้Œอกำหนด • ข้อกำหนดพื้นฐาน (Basic requirements) คือคำถามที่ตามหลังหัวข้อหลัก • ข้อกำหนดโดยรวม (Overall requirements) แสดงด้วยคำถามตัวอักษรเข้ม เป็นจุดเริ่มต้นในการตอบข้อกำหนดของเกณฑ์ • ข้อกำหนดย่อย (Multiple requirements) เป็นคำถามเดี่ยวๆ ในแต่ละประเด็นพิจารณา รวมทั้งคำถามที่เป็นตัวอักษรเข้ม คำถามแรกแสดงถึงสิ่งที่สำคัญที่สุดในชุดคำถามนั้น ประเด็นพิจารณา ใช้ตัวอักษร ก., ข. และ ค.

8 รูปแบบของหัวข้อ ข้อกำหนด ย่อย หมายเลขหัวข้อ ชื่อหัวข้อ ข้อกำหนดพื้นฐาน
ประเด็นพิจารณา ประเภทสารสนเทศ ข้อกำหนด โดยรวม ข้อกำหนด ย่อย

9

10 โครงร่างองค์กร เป็นภาพรวมองค์กรที่มีอิทธิพลต่อวิธีการ ดำเนินงาน
เป็นความท้าทายที่องค์กรเผชิญอยู่ เป็นบริบทที่ครอบคลุม และใช้ตอบ หมวด 1-7 เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมที่สุดในการประเมิน ตนเอง ช่วยระบุสารสนเทศสำคัญขององค์กรให้เข้าใจ ตัวเอง สื่อความเข้าใจในองค์กรให้ตรงกัน

11 ก.สภาพแวดล้อมองค์กร ที่ประกอบด้วย
(1) โรงเรียนมีหลักสูตร /โปรแกรม / แผนการเรียนที่สำคัญคืออะไรบ้าง (2) วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม สมรรถนะหลักของโรงเรียน คืออะไร (3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร(กี่กลุ่ม อะไรบ้าง สิทธิประโยชน์ด้านสุขภาพและความปลอดภัยของ บุคลากร มีอะไรบ้าง) (4) สินทรัพย์ (อาคารสถานที่ เทคโนโลยี อุปกรณ์สำคัญอะไรบ้าง) (5) กฎระเบียบข้อบังคับที่สำคัญ (การประกันคุณภาพการศึกษา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย , ระเบียบการเงิน ฯลฯ) (6) สมรรถนะหลักของโรงเรียน (เรื่องที่โรงเรียนมีความชำนาญที่สุด) มีอะไรบ้าง ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร (1) โครงสร้างองค์กร (ระบบกำกับดูแลองค์กร) (2) นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (กลุ่มนักเรียน-ความต้องการและความคาดหวัง) (3) ผู้ส่งมอบและพันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ (บทบาทในการเรียนการสอนห่วงโซ่อุปทาน)

12 2.สภาวการณ์ขององค์กร ก.สภาพแวดล้อมของการแข่งขัน (1) ลำดับในการแข่งขัน (อยู่ในลำดับที่เท่าใด อธิบายขนาดและการเติบโต โรงเรียนที่เป็นคู่แข่งขันมีจำนวนเท่าไร) (2)การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน (การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ) (3) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเปรียบและเชิงการแข่งขันทางการศึกษา ข้อจำกัด) ข.บริบทเชิงกลยุทธ์ (ระบุความท้าทายเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญด้านหลักสูตร ด้านการปฏิบัติการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านทรัพยากรบุคคลโรงเรียน) ค.ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน (ระบุองค์ประกอบสำคัญของระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ กระบวนการที่สำคัญของโรงเรียน) พันธมิตร หมายถึง องค์กรหรือกลุ่มบุคคลสำคัญที่ตกลงทำงานร่วมกับองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ร่วมกัน (ความร่วมมือทางการ)

13 ลักษณะองค์กร : คุณลักษณะที่สำคัญของโรงเรียนคืออะไร
► เป็นการอธิบายถึงสภาพแวดล้อมการดำเนินงานของโรงเรียนและความสัมพันธ์หลักกับผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ ► การอธิบายดังกล่าวจะตอบคำถามต่อไปนี้

14 ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร
หลักสูตร -โรงเรียนมีหลักสูตรและบริการที่สำคัญอะไรบ้าง -ความสำคัญเชิงเปรียบเทียบของแต่ละหลักสูตรและบริการ ต่อความสำเร็จของโรงเรียนคืออะไร -กลไกที่โรงเรียนใช้จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนจบการศึกษา อย่างมีคุณภาพตามหลักสูตรคืออะไร (2) วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ ของโรงเรียนที่ประกาศไว้คืออะไร -สมรรถนะหลักของโรงเรียน (core competencies) คืออะไร และมีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับพันธกิจของโรงเรียน

15 สมรรถนะหลักของโรงเรียน (core competencies)
เรื่องที่โรงเรียนมี ความชำนาญที่สุด เป็นขีดความ สามารถเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ ซึ่งเป็นแกนหลัก ในการทำให้องค์กรบรรลุพันธกิจ หรือ ทำให้ได้เปรียบใน สภาพแวดล้อมของตลาดหรือการบริการของตน เป็นเรื่องที่คู่แข่ง หรือผู้ส่งมอบและคู่ความร่วมมือ ลอกเลียนแบบได้ยาก สมรรถนะหลักของโรงเรียน (core competencies) จะช่วย คงความได้เปรียบในการแข่งขันของโรงเรียน การไม่กำหนดสมรรถนะหลักที่ต้องการของโรงเรียน อาจ ส่งผลต่อความท้าทายเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญการเสียเปรียบใน ตลาด

16 • มีกลุ่มอะไรบ้างที่จัดตั้งให้ทำหน้าที่เจรจาสิทธิประโยชน์ กับโรงเรียน
(3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร • จำแนกบุคลากรออกเป็นกลุ่มและประเภทอะไรบ้าง และ กลุ่มเหล่านี้มีข้อกำหนดด้านการศึกษาระดับใด • ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้บุคลากรมุ่งมั่นในการทำงานเพื่อ บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียนคืออะไร • มีกลุ่มอะไรบ้างที่จัดตั้งให้ทำหน้าที่เจรจาสิทธิประโยชน์ กับโรงเรียน • สิทธิประโยชน์และข้อกำหนดพิเศษด้านสุขภาพและ ความปลอดภัยที่สำคัญของบุคลากรมีอะไรบ้าง

17 กลุ่มและประเภทของบุคลากร กลุ่มที่ทำหน้าที่เจรจาสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ เช่น ชมรมครู ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว อาจจัดแบ่งตามประเภทของงาน หรือตามสถานะสภาพแวดล้อมในการทำงาน และให้รวมถึงนักศึกษาฝึกประสบการณ์

18 (4) สินทรัพย์ (Assets) โรงเรียนมีอาคารสถานที่ เทคโนโลยี ครุภัณฑ์ และ อุปกรณ์ที่สำคัญต่อการบริหารจัดการหลักสูตร อะไรบ้าง

19 (5) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
โรงเรียนดำเนินงานภายใต้สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบข้อบังคับที่สำคัญ อะไรบ้างในด้านต่อไปนี้ • กฎระเบียบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย • ข้อกำหนดด้านมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา • กฎ ระเบียบ เกี่ยวกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และ การบริการเสริมพิเศษ • กฎระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการศึกษา • กฎระเบียบข้อบังคับด้านการเงินและสิ่งแวดล้อม

20 ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร
โครงสร้างองค์กร - โครงสร้างองค์กรและระบบการกำกับดูแลองค์กร (GOVENANCE system) ของ โรงเรียนมีลักษณะอย่างไร - ระบบการรายงานระหว่างคณะกรรมการการกำกับดูแลองค์กรผู้นำระดับสูง หน่วยงานต้นสังกัด มีลักษณะเช่นใด (*) (2) นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (STUDENTS and STAKEHOLDERS) ส่วนตลาดหรือเขตพื้นที่บริการ (Catchment Area) กลุ่มนักเรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่สำคัญจำแนกตามหลักสูตรของโรงเรียนมีอะไรบ้าง (*) • ความต้องการและความคาดหวังที่สำคัญของกลุ่มนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วน เสียต่อหลักสูตรและการบริการต่างๆ มีอะไรบ้าง และมีความแตกต่างกันอย่างไร 

21 (3) ผู้ส่งมอบและพันธมิตร (Suppliers and PARTNERS)
• ผู้ส่งมอบ พันธมิตรและผู้ให้ความร่วมมือ (COLLABORATORS) ที่สำคัญ มีประเภทใดบ้างและ มีบทบาทอะไรในระบบงานของโรงเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน การจบหลักสูตรของนักเรียน และการยกระดับความสามารถในการแข่งขันของโรงเรียน • โรงเรียนมีกลไกที่สำคัญอะไรในการสื่อสารแบบสองทิศทางกับผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ • ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือมีส่วนร่วมอะไรในการสร้างนวัตกรรมให้แก่โรงเรียน • ข้อกำหนดที่สำคัญของห่วงโซ่อุปทาน (Supply-chain) ของโรงเรียน คืออะไร (พิจารณาจากระบบการบริหารจัดการหลักสูตร)

22 พันธมิตร องค์กรหรือกลุ่มบุคคลกลที่ตกลงทำงานร่วมกับองค์กรเพื่อ ให้บรรลุเป้าประสงค์ร่วมกัน ปรับปรุงผลการดำเนินการ ความร่วมมือที่เป็นทางการ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายเฉพาะ หรือ เจตจำนงเฉพาะเจาะจง เช่นเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ หรือเพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือบริการ มีความเข้าใจอย่างชัดเจนในบทบาทและ ผลประโยชน์ที่มี ร่วมกัน

23 2. สภาวการณ์ขององค์การ : สภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ของสถาบันคืออะไร                อธิบายถึงสภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ความท้าทาย ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ และระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน โดยตอบคำถามต่อไปนี้

24 ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน
ลำดับในการแข่งขัน - โรงเรียนอยู่ในลำดับที่เท่าใดในการแข่งขัน - ให้อธิบายขนาดและการเติบโตของโรงเรียน เมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนที่มีหลักสูตรลักษณะเดียวกัน หรือตลาดเดียวกัน -โรงเรียนที่เป็นคู่แข่งมีจำนวนเท่าไร และประเภทอะไรบ้าง (2) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน - ระบุการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ (ถ้ามี) ซึ่งมีผลต่อ สถานการณ์ในการแข่งขันของโรงเรียน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงที่ สร้างโอกาสสำหรับการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือ         

25 (3) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
ระบุแหล่งที่มาสำคัญสำหรับข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ และเชิง แข่งขันทางการศึกษา มีอะไรบ้าง มีข้อจำกัดอะไรบ้างในการได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านี้ หรือมีข้อจำกัด อะไรในการใช้ข้อมูลเหล่านี้

26 ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ ระบุความท้าทายเชิงกลุยทธ์และความ ได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ ด้าน.. -การจัดหลักสูตรและการบริการ -การปฏิบัติการ -ความรับผิดชอบต่อสังคมในวงกว้าง -ทรัพยากรบุคคลขององค์กรคืออะไร

27 ปัจจัยความท้าทาย อาจรวมถึงต้นทุนการดำเนินงาน (เช่นวัสดุแรงงาน หรือสถานที่ตั้งทาง ภูมิศาสตร์ การขยายหรือหดตัวของตลาด การควบรวมหรือครอบครองกิจการทั้ง โดยองค์กรเองและ โดยคู่แข่ง สภาวะเศรษฐกิจ รวมถึงความผันผวนของอุปสงค์และเศรษฐกิจขาลงทั้ง ระดับ ท้องถิ่นและระดับโลก วงจรธรรมชาติของธุรกิจ การนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่หรือทดแทน การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันด้านเทคโนโลยี่หรือการมีคู่แข่งใหม่เข้าสู่ ตลาด นอกจาก องค์กรอาจเผชิญกับความท้าทายที่เกี่ยวกับการสรรหา ว่าจ้าง และรักษา บุคลากรที่มี คุณภาพไว้

28 • คอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลที่มาแทนที่เครื่องพิมพ์ดีด
การไมได้เตรียมพร้อมต่อเรื่องการปรับเปลี่ยนต่อเทคโนโลยี • คอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลที่มาแทนที่เครื่องพิมพ์ดีด โทรศัพท์มือถือที่กำลังมาแทนโทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์ สาธารณะ เครื่องโทรสารจากบริการส่งเอกสาร เป็นจดหมาย อิเล็กทรอนิกและ สื่อสังคมออนไลน์(Social media)

29 ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ
ระบุองค์ประกอบสำคัญของ -ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ -ระบบการปรับปรุงกระบวนการ ของโรงเรียนสำหรับการประเมินผลและปรับปรุง กระบวนการที่สำคัญของโรงเรียน

30 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงานที่โรงเรียนใช้คืออะไร
กระบวนการประเมินผลที่โรงเรียนใช้คืออะไร ? กระบวนการเรียนรู้ระดับองค์กรของโรงเรียนคืออะไร? กระบวนการสร้างนวัตกรรมของโรงเรียนคืออะไร ?

31 ระบบการปรับปรุงผลและพัฒนาคุณภาพโรงเรียนใช้ ISO series, PDCA , ผลประเมินคุณภาพ สมศ.
การประเมินผลดำเนินการ โรงเรียนใช้เครื่องมือ KPI, Balance Scorecard การเรียนรู้ระดับองค์กร โรงเรียนใช้เครื่องมือ Performance Review System การจัดการความรู้ โรงเรียนใช้เครื่องมือ Community of Practice(CoP), Nonaka Model การสร้างนวัตกรรม โรงเรียนใช้ DMADV Model ของ Six Sigma , R2R(Routine to Reseach

32 1.ทบทวนสถานภาพกิจการปัจจุบัน
ระบบคุณภาพ (ISO SERIES) มี 4 ข้อใหญ่ๆ 1.ทบทวนสถานภาพกิจการปัจจุบัน 2.จัดทำแผนการดำเนินงานและระบบเอกสาร 3.นำระบบบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัติ 4.ตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบคุณภาพ  

33 ขั้นตอนหลักๆของระบบ Per.Rev.Sys คือ
1.การกำหนดเป้าหมายของผลงานระดับองค์กร  เป็นการกำหนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ขององค์กรระยะสั้น(ประจำปี)ระยะปานกลางหรือระยะยาว(3-5 ปี) รวมถึงการจัดทำแผนกลยุทธ์รองรับเป้าหมายที่กำหนดไว้ด้วย 2.การกระจายเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงาน เป็นการเชื่อมโยงเป้าหมายและแผนงานระดับองค์กรสู่หน่วยงานต่างๆที่ขึ้นตรงกับผู้บริหารสูงสุด 3.การจัดทำใบประเมินผลงานพนักงานรายบุคคล เป็นการเชื่อมโยงเป้าหมายหน่วยงานสู่ตำแหน่งงาน และการประเมินผลงานรายบุคคล เชื่อมโยงกับระบบการประเมินผลงานประจำปีที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายโบนัส ปรับค่าจ้างประจำปี หรือผลตอบแทนอื่นๆที่ใช้ผลงานเป็นเกณฑ์ในการให้หรือจ่าย สรุปว่าระบบการบริหารผลงานสมัยใหม่หรือที่เรียกว่า PRS คือการบริหารผลงานในภาพรวมขององค์กรโดยการเชื่อมโยงระบบที่เกี่ยวข้องกับผลงานไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายองค์กร งบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยง ระบบมาตรฐานสากล ตลอดจนถึงระบบการประเมินผลงานประจำปีของพนักงานมาอยู่ด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อให้มองเห็นภาพความสัมพันธ์ของผลงานตั้งแต่ระดับองค์กรจนถึงพนักงานได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้นนั่นเอง

34 กระบวนการทบทวนผลการปฏิบัติงาน 7 ขั้นตอน (Performance Review System)
1. กําหนดเป้าหมายระดับองค์กร ซึ่งเป็นหน้าที่ของ ผู้บริหารระดับสูง(คณะกรรมการบริหาร รร.)เป็นผู้กําหนด 2. กระจายเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน 3. กระจายเป้าหมายหน่วยงานสู่ผู้ปฏิบัติงาน 4. จัดทํา Balance Sheet ระดับหน่วยงานเพื่อใช้ในการ ควบคุมติดตามผลงาน 5. จัดทําแบบประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคลและ กําหนดระดับผลงานในแต่ละเกรด 6. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ 7. ประเมินผลเพื่อสรุปผลงานประจําปี

35 การวัดผลงานเชิงดุลยภาพ 4 มุมมอง : Balanced Scorecard
1.มุมมอง ด้านการเงิน การเพิ่มรายได้  การลดต้นทุน  การเพิ่มผลผลิต  การใช้ ประโยชน์ทรัพย์สิน  การลดความเสี่ยง   ผลตอบแทนในการ ลงทุน 2.มุมมอง ด้านลูกค้า ความสามารถในการดึงดูดลูกค้าใหม่มาใช้สินค้า การรักษาลูกค้า การสร้างความพึงพอใจ ตัวชี้วัด ได้แก่ จำนวนลูกค้า(คน) ส่วนแบ่งตลาด (%) ยอดขายทั้งปี/จำนวนลูกค้า(บาท) การสูญเสียลูกค้า(คนหรือ%) เวลาเฉลี่ยที่ใช้ในด้านความสัมพันธ์กับลูกค้า(นาที)รายจ่ายทางการ ตลาด(บาท) ความพึงพอใจของลูกค้า ความจงรักภักดีของลูกค้า   จำนวนเรื่องร้องเรียน (เรื่อง)   3.มุมมองด้านกระบวนการ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร/รายรับ(บาท) เวลาที่ใช้ในการผลิต(นาที) การส่งสินค้าตรงเวลา(%) เวลาเฉลี่ยในการตัดสินใจ(นาที) เวลาที่ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์(วัน) การปรับปรุงการผลิต(%)  ค่าใช้จ่ายด้าน IT / ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 4.มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต ความพึงพอใจของบุคลากร ดัชนีวัดภาวะผู้นำ ดัชนีวัดแรงจูงใจ สัดส่วน ลูกจ้างที่ออกจากงาน ค่าใช้จ่ายการพัฒนาบุคลากร/จำนวนทั้งหมด

36 การจัดการความรู้ รูปแบบ Nonaka and Takeuchi

37 Six Sigma คือ เครื่องมือและแนวคิดในการปรับปรุงคุณภาพในองค์กรเพื่อลดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในกระบวนการต่างๆ ให้เหลือน้อยที่สุดโดยใช้หลักการทางสถิติ และมุ่นเน้นลูกค้าเป็นหัวใจสำคัญเพื่อการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ Define Analyze Improve Control Measure ตรวจสอบให้แน่ใจในผลลัพธ์ที่ได้มา กำหนดแนวทางการแก้ไข ค้นพบ สาเหตุของปัญหา ประยุกต์ใช้ ตลอดจน ดำเนินการโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลที่เหมาะสม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา และผลกระทบต่อการเงิน DMAIC

38 R 2 R 1. R2R (Routine to Research) 2. องค์ประกอบสำคัญ R2R คือ
R2R เป็นเครื่องมือพัฒนาคนใช้พัฒนางาน ขับเคลื่อนไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 2. องค์ประกอบสำคัญ R2R คือ 1.โจทย์วิจัย R2R 2.ผู้วิจัย 4. การนำเสนอผลการวิจัยไปใช้ 3.ผลลัพธ์ของงานวิจัย 3. R2R ใช้ระเบียบวิธีวิจัย วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)

39 4. R2R มีผู้ที่เกี่ยวข้องคือ
1 กลุ่มผู้วิจัย R2R: กลุ่มที่ต้องการพัฒนางานประจำค้นหาคำถามวิจัย ที่เป็นกุญแจสู่การพัฒนาการบริการ ผลลัพธ์การทำ R2R คือ ส.ป.ก. (ส. = ความสุขในการทำงาน ป. =เกิดปัญญา ก. = ความก้าวหน้า 2 คุณอำนวย: ผู้อ้านวยความสะดวกต่อกิจกรรม R2R โดยใช้แนวคิด KM เริ่มจากความสำเร็จของกลู๋มคนจำนวนน้อยมาเล่ามาแลกเปลี่ยน และต่อยอด (Success Story telling) 3. ผู้บริหาร: มีความรู้ ความเข้าใจ R2R ให้การสนับสนุน ใช้ R2R เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพื่อพัฒนางาน ประจำ นำพาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)

40 ตัวอย่าง ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน กำหนดองค์ ประกอบสำคัญของระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงานโดยใช้วงจร PDSR ได้แก่ Plan(วางแผน) Do(ปฏิบัติ) Study(เรียนรู้) และ Refine(ปรับแต่ง) โดย เทียบกับตัววัด(KPI)และเป้าหมาย ระบบการปรับปรุง วิธีประเมินผล

41 กิจกรรมที่ใช้ปรับปรุงงานใช้ตลอดเส้นทางคือ ๖ ประการที่ยุทธวิธี “Study”และ“Refine”ได้แก่
๑) การทบทวนหลักสูตรและการสอนกับมาตรฐานการศึกษา ๒) การทบทวน โครงสร้างรางวัล การยกย่องชมเชยและ การตอบแทน ๓) การพัฒนาสมรรถนะหลักครู บุคลากร ทั้งด้านความรู้ เนื้อหา ทักษะกระบวนการ ๔) การทบทวนผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนในระดับต่าง ๆทุก ภาคเรียน ๕) การนำข้อมูลจริงมาใช้ทบทวนและสร้างขึ้นใหม่ และ ๖) การกำหนดนโยบายใหม่

42 กิจกรรมที่ใช้ในการปรับปรุงผลการดำเนินการ
การจัดทำรายงานประเมินตนเองเพื่อการรับรองคุณภาพ การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนการปฏิบัติที่ดีระหว่างกลุ่มสาระ โดยนำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการสอบ O-net, การสอบเข้ามหาวิทยาลัย รวมทั้งเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน สพฐ. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก และการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาของประเทศใช้ในการพิจารณาปรับปรุง หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการบริหาร การนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นำเสนอให้ทุกคน ได้ทราบอย่างทั่วถึง และนำมาปรับระบบการเรียนการสอน การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การบริหารงานงบประมาณ การบริการทั่วไปและสิ่งที่สังคมต้องการ การทบทวนเป้าหมาย วิสัยทัศน์ร่วม (Share vision) พันธกิจ แผนปฏิบัติการ จุดประสงค์ แนวปฏิบัติ และผลการปฏิบัติ


ดาวน์โหลด ppt รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google