ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 8 ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ 11/10/2018
2
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ตลาดผูกขาดอย่างแท้จริง ( Pure Monopoly ) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ( Monopolistics Competition ) ตลาดผู้ขายน้อยราย ( Oligopoly ) 11/10/2018
3
ลักษณะทั่วไป สินค้ามีความแตกต่างกัน
มีผู้ผลิตจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายแต่ละรายมีอิทธิพลในการกำหนดราคาหรือปริมาณการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง การกำหนดราคามีลักษณะเป็น หรือ Price Searcher หรือ Price Maker 11/10/2018
4
ลักษณะเส้นอุปสงค์ของผู้ผลิต
มีลักษณะลาดลงจากซ้ายมาขวา เส้นอุปสงค์เป็นเส้นเดียวกับเส้นราคา (P)และเส้นรายรับเฉลี่ย(AR) เส้นรายรับเพิ่ม (MR) มีความชันเป็น 2 เท่าของ AR ราคา,รายรับ D=AR MR ปริมาณ 11/10/2018
5
ตลาดผูกขาดแท้จริง Pure Monopoly
11/10/2018
6
ประเภทของตลาดผูกขาด ตลาดผูกขาดที่ไม่มีการควบคุม
*ผู้ผูกขาดมีอำนาจเต็มที่ในการกำหนดราคาหรือปริมาณการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง ตลาดผูกขาดที่ควบคุมโดยรัฐ * ผู้ผูกขาดไม่มีอำนาจกำหนดราคาอย่างเต็มที่ * รัฐจะแทรกแซงการกำหนดราคาสินค้าของผู้ผลิต 11/10/2018
7
ลักษณะของตลาดผูกขาดที่แท้จริง
มีผู้ผลิตหรือผู้ขายเพียง 1 ราย สินค้ามีลักษณะพิเศษไม่เหมือนใคร ไม่สามารถหาสินค้าอื่นๆมาทดแทนได้อย่างใกล้เคียง ผู้ผลิตสามารถกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตอื่นเข้ามาผลิตแข่งขันได้ 11/10/2018
8
สาเหตุของการผูกขาด ผู้ผลิตหลายรายรวมตัวกันผูกขาดการผลิตโดยยุบรวมเป็นบริษัทเดียวกัน ขนาดของกิจการใหญ่มากจึงจะทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง (Economy of Scale)จึงสามารถสร้างอำนาจผูกขาดได้ รัฐออกกฏหมายให้ผูกขาดการผลิตเพียงผู้เดียว เป็นเจ้าของวัตถุดิบที่สำคัญแต่เพียงผู้เดียว การจดทะเบียนลิขสิทธิ์ทางกฏหมาย 11/10/2018
9
เส้นอุปสงค์และรายรับส่วนเพิ่มของการผูกขาด
เนื่องจากตลาดผูกขาดแท้จริงมีผู้ผลิตเพียงรายเดียว อุปสงค์ตลาด = อุปสงค์ของผู้ผูกขาด D = AR MR ราคา , รายรับ ปริมาณผลผลิต 11/10/2018
10
ตลาดผูกขาดที่ไม่มีการควบคุม
ผู้ผูกขาดมีอิสระในการกำหนดราคาหรือปริมาณการผลิต *ถ้าผู้ผูกขาดกำหนดราคา : ตลาดเป็นผู้กำหนดปริมาณการผลิตและปริมาณขาย *ถ้าผู้ผูกขาดกำหนดปริมาณการผลิตและปริมาณขาย : ตลาดเป็นผู้กำหนดราคา 11/10/2018
11
D = AR ราคา , รายรับ ปริมาณผลผลิต P Q MR 11/10/2018
12
การวิเคราะห์ดุลยภาพระยะสั้นของผู้ผูกขาด
เงื่อนไข ที่เลือกผลิตคือ MR = MC 11/10/2018
13
ต้นทุน ,รายรับ MC AC P A C B D=AR E MR ปริมาณ Q
F E MR ปริมาณ Q 11/10/2018
14
ต้นทุน,รายรับ ปริมาณ D=AR MR MC P Q AC A E
ปริมาณ D=AR MR MC P Q AC A E 11/10/2018
15
ต้นทุน , รายรับ ปริมาณ D=AR MR MC P A E Q AC C B
ปริมาณ D=AR MR MC P A E Q AC C B F G AVC 11/10/2018
16
ต้นทุน , รายรับ ปริมาณ D=AR MR MC P A E Q AVC
ปริมาณ D=AR MR MC P A E Q AVC 11/10/2018
17
สรุป กำไรเกินปกติ กำไรปกติ ขาดทุน
การผลิตในระยะสั้นของผู้ผลิตผูกขาดอาจเผชิญกับ กำไรเกินปกติ กำไรปกติ ขาดทุน 11/10/2018
18
แบบฝึกหัด 1500 1200 1000 700 200 100 120 150 ต้นทุน , รายรับ AC MC B
AVC 1200 A 1000 700 G E 200 D MR ปริมาณ 100 120 150 11/10/2018
19
คำถาม ผู้ผลิตควรจะเลือกผลิตสินค้ากี่หน่วย
ณ จุดดุลยภาพรายรับเฉลี่ยมีค่าเท่าใด ณ จุดดุลยภาพรายรับรวมมีค่าเท่าใด ณ จุดดุลยภาพต้นทุนรวมมีค่าเท่าใด ณ ปริมาณการผลิต หน่วย ต้นทุนเฉลี่ยมีค่าเท่าใด ณ ปริมาณการผลิต หน่วย รายรับเพิ่มมีค่าเท่าใด 11/10/2018
20
ณ จุดดุลยภาพ ผู้ผลิตเสียต้นทุนผันแปรเฉลี่ยเท่าใด
ณ จุดดุลยภาพ ผู้ผลิตเสียต้นทุนผันแปรเฉลี่ยเท่าใด ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตเสียต้นทุนคงที่เท่าใด ผู้ผลิตได้รับกำไร หรือ ขาดทุน เท่าใด 11/10/2018
21
ดุลยภาพระยะยาวของผู้ผูกขาด
D=AR MR LMC LAC E A B P C Q ต้นทุน ,รายรับ ปริมาณ SAC SMC 11/10/2018
22
ดุลยภาพระยะยาวของผู้ผูกขาด
ต้นทุน , รายรับ ปริมาณการผลิต D=AR MR SMC E LAC LMC SAC Q P A 11/10/2018
23
ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดจะเผชิญกับ กำไรเกินปกติ กำไรปกติ
11/10/2018
24
การผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ
กิจการบางอย่างจำเป็นต้องให้มีการผลิตขนาดใหญ่เพื่อให้มีการประหยัดจากขนาด รัฐเข้าควบคุมผู้ผลิตเพื่อไม่ให้ผู้ผูกขาดเอาเปรียบผู้บริโภค 11/10/2018
25
การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตกรณีการผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ
ต้นทุน , รายรับ MC AC P A B C F Pf I PI E D=AR MR ปริมาณผลผลิต Q Qf QI 11/10/2018
26
การแบ่งแยกราคาขาย ( Price Discrimination )
หากผู้ขายหรือผู้ผูกขาดต้องการแสวงหากำไรเพิ่มสามารถทำได้โดยขายสินค้าชนิดเดียวกันในราคาที่แตกต่างกันสำหรับตลาดแต่ละตลาด เงื่อนไขคือ *ผู้ผูกขาดสามารถแยกตลาดออกจากกันได้เด็ดขาด *อุปสงค์สำหรับสินค้านั้นต้องมีความยืดหยุ่นแตกต่างกันในแต่ละตลาด 11/10/2018
27
วิธีการทำ Price Discrimination
* หาปริมาณผลผลิตรวมทั้งหมดที่จะทำให้ได้รับกำไรสูงสุดก่อน * จัดสรรผลผลิตให้แต่ละตลาดโดยยึดหลักที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุดในแต่ละตลาดนั่นคือ ณ จุดที่ MC (รวม ) = MR แต่ละตลาด * ราคาจะถูกกำหนดตามเส้นอุปสงค์ในแต่ละตลาด 11/10/2018
28
*กำหนดราคาสินค้าต่ำกว่าในตลาดที่มีความยืดหยุ่นมาก
P P1 MC P2 D2 D D1 MR MR1 MR2 Q1 Q2 Q ตลาดที่ 2 ตลาดที่ 1 *กำหนดราคาสินค้าต่ำกว่าในตลาดที่มีความยืดหยุ่นมาก 11/10/2018
29
ผลดีของการผูกขาด การผลิตที่ต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติต้องมีการผูกขาดเพื่อสงวนทรัพยากรของประเทศ นั่นคือให้มีการผลิตในขนาดใหญ่ เกิด การประหยัดจากขนาด ( Economy of Scale ) ผู้ผูกขาดทำให้ผลิตผลมีมาตรฐานเดียวกัน ลดค่าใช้จ่ายในการขายและการโฆษณา 11/10/2018
30
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด Monopolistic Competition
11/10/2018
31
ลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
จำนวนผู้ผลิตมีเป็นจำนวนมาก ไม่มีสิ่งกีดขวางของผู้ผลิตใหม่ที่จะเข้ามาทำการผลิตแข่งขัน ( Free entry ) ไม่มีการรวมตัวกันระหว่างผู้บริโภคและผู้ผลิต สินค้าของผู้ผลิตแต่ละรายจะแตกต่างกันในตัวสินค้าหรือความรู้สึกของผู้บริโภค 11/10/2018
32
มีการแข่งขันและการผูกขาดไปพร้อมๆกัน
ผู้ขายแต่ละรายมีอำนาจในการผูกขาดสินค้าของตน ถ้าทำสินค้าให้แตกต่างจากผู้ผลิตรายอื่น มีการแข่งขันและการผูกขาดไปพร้อมๆกัน 11/10/2018
33
การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตในระยะสั้น
ผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดแสวงหากำไรสูงสุด โดยทำการผลิตที่ MC = MR 11/10/2018
34
Q MC AC P A ปริมาณ ราคา D=AR MR E C B 11/10/2018
35
D=AR MR MC AC P A E ต้นทุน,รายรับ ปริมาณ Q 11/10/2018
36
D=AR MR MC AC AVC C P D B A F E ต้นทุน,รายรับ ปริมาณ Q 11/10/2018
37
D=AR MR MC AC AVC C P B A E ต้นทุน,รายรับ ปริมาณ Q 11/10/2018
38
สรุป ในระยะสั้น ผู้ผลิตมีโอกาสได้รับ กำไรเกินปกติ กำไรปกติ ขาดทุน
ในระยะสั้น ผู้ผลิตมีโอกาสได้รับ กำไรเกินปกติ กำไรปกติ ขาดทุน 11/10/2018
39
การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตในระยะยาว
เงื่อนไข SAC = LAC = D = AR > SMC = LMC = MR 11/10/2018
40
ต้นทุน,รายรับ LMC LAC SMC SAC A P D=AR E MR ปริมาณ Q 11/10/2018
41
ในระยะยาว ผู้ผลิตจะได้รับเพียงกำไรปกติเท่านั้น เนื่องจากคุณสมบัติ การเข้าออกได้อย่างเสรี ( Free entry ) ของผู้ผลิตในตลาด 11/10/2018
42
ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)
11/10/2018
43
ลักษณะของตลาด ประกอบไปด้วยผู้ขายตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป
เมื่อผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งเปลี่ยนแปลงราคาและจำนวนผลผลิต จะมีผลกระทบต่อผู้ผลิตที่เป็นคู่แข่งขันในตลาดและมักจะมีการกระทำตอบโต้ในเรื่องการกำหนดราคาแข่งขันกัน จนกระทั่งรายรับส่วนเพิ่มของผู้ผลิตทั้ง 2 รายลดลง 11/10/2018
44
ประเภทตลาดผู้ขายน้อยราย
Pure Oligopoly :สินค้าเหมือนกันแต่มักใช้การแข่งขันแบบไม่ใช้ราคาหรือใช้การส่งเสริมการจำหน่ายและการโฆษณาเพื่อทำให้สินค้าแตกต่างกัน เช่น น้ำมันเบนซิน น้ำอัดลม เบียร์ ปูนซีเมนต์ ฯลฯ Differentiated Oligopoly : สินค้าแตกต่างกันแต่ใช้ทดแทนกันได้ดี เช่น รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ ฯลฯ 11/10/2018
45
ราคาและปริมาณผลผลิตของผู้ขายน้อยราย
การกำหนดราคาและผลผลิตตามทฤษฎีของเส้นอุปสงค์ที่หักมุม ( Kinked Demand Curve ) การกำหนดราคาในรูปแบบอื่น ๆ * การตั้งราคาตามผู้นำ ( Price Leadership ) * การรวมตัวกันของผู้ผลิต ( Collusion ) 11/10/2018
46
ลักษณะของเส้นอุปสงค์
ราคา ลักษณะของเส้นอุปสงค์ ช่วง AB : Demand มีความยืดหยุ่นมาก ช่วง BD1 : Demand มีความยืดหยุ่นน้อย A P2 B P P1 D2 D1 ปริมาณผลผลิต Q1 Q2 Q3 Q4 11/10/2018
47
ลักษณะเส้นรายรับเพิ่ม ( MR )
ราคา ลักษณะเส้นรายรับเพิ่ม ( MR ) A B P MR1 D = AR ปริมาณผลผลิต MR2 11/10/2018
48
ดุลยภาพในระยะสั้น ผลิต ณ จุดที่ MR = MC 11/10/2018
49
ต้นทุน ,รายรับ ปริมาณ A B D C F G MR Q MC AC E I P H 11/10/2018
50
ต้นทุน , รายรับ ปริมาณ Q A P G MR C F D = AR B MC AC E 11/10/2018
51
ต้นทุน,รายรับ ปริมาณ A Q D=AR B F C MR G I H P AC MC E AVC 11/10/2018
52
สรุป ดุลยภาพระยะสั้นผู้ผลิตมีโอกาสได้รับ กำไรเกินปกติ กำไรปกติ ขาดทุน
11/10/2018
53
ข้อสังเกต 1. MR จะตัดกับ MC ในช่วงที่ MR ขาดตอน
ราคามีแนวโน้มคงที่ ( Price Rigidity ) อยู่ตรง ส่วนหัวมุมที่เส้นอุปสงค์หักงอ 3. ปริมาณการผลิตค่อนข้างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง 11/10/2018
54
ในระยะยาวการกำหนดราคาและ ปริมาณการผลิตขึ้นอยู่กับ
การเปลี่ยนแปลงขนาดของกิจการ ความยากง่ายที่ผู้ผลิตรายใหม่จะเข้ามาทำการผลิตแข่งขัน 11/10/2018
55
ต้นทุน , รายรับ ปริมาณ A B P Q MR SAC I H F D=AR SMC LMC LAC E C
ปริมาณ A B P Q MR SAC I H F D=AR SMC LMC LAC E C 11/10/2018
56
ต้นทุน , รายรับ LMC SMC A SAC LAC B P I H C E F D=AR ปริมาณ Q MR
Q MR 11/10/2018
57
* กรณีที่ผู้ผลิตสามารถสร้างสิ่งกีดขวางมิให้
* กรณีที่ผู้ผลิตสามารถสร้างสิ่งกีดขวางมิให้ ผู้ผลิตรายอื่นเข้ามาแข่งขันเพื่อแบ่งกำไรได้ กำไรเกินปกติ * กรณีการแข่งขันแบบไม่ใช้ราคา Ex การ โฆษณา ลด แลก แจก แถม จะทำให้ ต้นทุนสูงขึ้น : กำไรลดลง กำไรปกติ 11/10/2018
58
การกำหนดราคารูปแบบอื่นๆ
1. การตั้งราคาตามผู้นำ ( Price Leadership ) การเป็นผู้นำโดยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เข้าตลาดเป็นรายแรก การเป็นผู้นำโดยเป็นผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำสุด การเป็นผู้นำราคาโดยเป็นผู้ผลิตที่ประพฤติตนเป็นเครื่องบ่งชี้ในการกำหนดราคาขายในตลาดและผู้ผลิตรายอื่นๆก็จะขายสินค้าในราคาเดียวกัน 11/10/2018
59
2. การรวมตัวกันของผู้ผลิต (Collusion)
2.1 การรวมกลุ่มสมบูรณ์ ( Perfect Collusion ) เสมือนว่าเป็นผู้ผลิตเพียงรายเดียวในตลาดและทำการตกลงร่วมกันที่จะดำเนินนโยบายเดียวกัน รวมทั้งตั้งราคาเดียวกัน ราคาดังกล่าวเป็นราคาที่ทำให้กำไรรวมของกลุ่มสูงสุด ณ MC (กลุ่ม) = MR (กลุ่ม) ปริมาณการผลิตจะถูกจัดสรรให้โดยกลุ่ม 11/10/2018
60
2.2 การรวมกลุ่มไม่สมบูรณ์ Imperfect Collusion )
รวมตัวกันหลวม ๆ มักจะกำหนดราคาเดียวกัน นโยบายอื่น ๆ เช่น ปริมาณการผลิต และการส่งเสริมการขายแล้วแต่ผู้ผลิตแต่ละราย 11/10/2018
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.