ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ. 2559-2563
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ นางธิติกาญจน์ กุลพัฒน์เศรษฐ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพะเยา
2
หลักการ แนวคิด และทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
1. การประเมินใช้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นข้อมูลพื้นฐาน 2. ผู้ประเมินมีจรรยาบรรณการประเมินแบบเรียบง่าย 3. ไม่เน้นเอกสาร เน้นสภาพจริง งดการต้อนรับแบบอลังการและสร้างภาพ เพื่อไม่ต้องการเพิ่มภาระให้กับสถานศึกษา 4. เน้นการประเมินที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และเป็นการประเมิน เชิงคุณภาพ 5. การประเมินรอบสี่ ไม่มีตัวบ่งชี้มีแต่ประเด็นการพิจารณาสอดคล้องกับ ประกันภายในของสถานศึกษา
3
จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน
จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน 1. เรียบง่ายด้วยใจ 1. การบริหารองค์กรภายใน 2. การประเมินเรียบง่ายโดยใช้ SAR ของสถานศึกษา 3. จรรยาบรรณ และวัฒนธรรมการประเมิน 2. พอเพียงต่อความต้องการ ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก ◊ ด้าน ◊ องค์ประกอบ พอเพียง ◊ ประเด็นพิจารณา 3. จรรยาบรรณ และวัฒนธรรมการประเมิน
4
จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน
จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน 3. ลดงานด้วยเทคโนโลยี (AQA) 1. ลดเอกสาร 2. เชื่อมโยงฐานข้อมูลอัจฉริย (Dig Data + Learner Analytics) ยืดหยุ่นกับทุกคน ทุกองค์กร ทุกเวลา ต่อยอดจาก การประกันคุณภาพภายใน 4. ยืดหยุ่นทุกคน 5. เชื่อมโยงทุกอย่าง เชื่อมโยงองค์กร บุคคล ทรัพยากรทั้งภายในสมศ. และ องค์กรที่เกี่ยวข้องด้วยหลักธรรมาภิบาลและเทคโนโลยี
5
จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน
จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน 6. ร่วมมือสู่มาตรฐาน การศึกษา ร่วมพัฒนากับหน่วยงานต้นสังกัด สถานบัน ชุมชน 7. อย่างเป็นสุขและยั่งยืน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับความพึงพอใจ สถานศึกษา มีคุณภาพ
6
จุดเปลี่ยนการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่
1. ลดเอกสาร เพิ่มเทคโนโลยี เชื่อมโยงสอดคล้องกับการประกันภายใน 2. ประเมินเชิงคุณภาพ (Holistic Assessment) โดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert judgment) 3. ประเมินโดย T-Based Assessment 4. การประเมินคุณภาพตั้งอยู่บนเกณฑ์และมาตรฐานการศึกษาของ การประกันคุณภาพภายใน
7
คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ประกอบด้วยบุคคล 3 ประเภท ดังนี้ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิจากสมศ. 2. ผู้แทนจากหน่วยงานต้นสังกัด 3. ผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นอิสระจากการประเมิน
8
หลักเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ มีระดับคุณภาพ ๕ ระดับ
ในแต่ละระดับคุณภาพเป็นการตัดสินเชิงคุณภาพที่สะท้อนผล การดำเนินงานที่เกิดขึ้น ดังนี้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
9
การประเมินระดับสถานศึกษา (Institution)
ไม่มีการ “รับรอง” หรือ “ไม่รับรอง” สถานศึกษา แต่เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา
10
วิธีดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก
ก่อนประเมิน ประกาศรายชื่อสถานศึกษา ที่จะได้รับการประเมิน จัดคณะกรรมการประเมินตามเกณฑ์ที่สมศ.กำหนดผ่านระบบ AQA เสนอผอ.สมศ.เห็นชอบรายชื่อผู้ประเมินและสถานศึกษาที่จะประเมิน ระหว่างประเมิน คณะผู้ประเมินดำเนินการประเมินตามกระบวนการที่สมศ.กำหนด (วิธีการที่หลากหลาย) และรายงานด้วยวาจา ขั้น per-Analysis วิเคราะห์ SAR สถานศึกษา Non visit, Partial, Full visit สมศ. ประกาศรายชื่อสถานศึกษาและคณะ ผู้ประเมินภายนอก
11
วิธีดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก
หลังประเมิน คณะผู้ประเมินสรุปผลการประเมินตรวจสอบคุณภาพ รายงาน (e-Report) แล้วนำส่งพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง (e-Document) เข้าระบบ AQA สถานศึกษาตรวจสอบ (ร่าง) รายงานผลการประเมิน และประเมินคณะผู้ประเมินผ่านระบบ AQA
12
ระยะที่ ๑ สมศ. ระยะที่ ๒ ต้นสังกัด ประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ติดตาม เพื่อพัฒนา และยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา เป้าหมายการประเมิน
13
3 Levels of i i1 : Internal Correction แก้ไขปัญหาตนเอง i2 : Improvement การปรับปรุงให้ดีขึ้น i3 : Innovation นวัตกรรม
14
ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.