ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสมัยใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์
2
ประวัติผู้บรรยาย การศึกษา ประสบการณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การศึกษาบัณฑิต (สังคมศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยรามคำแหง สังคมวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้บรรยายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับปริญญาตรี ปริญญา โท ปริญญาเอก และหน่วยงานภาครัฐ ผู้บริหารศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรึกษาและนักวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยงาน ภาครัฐ
3
เนื้อหาการบรรยาย การบริหารงานสมัยใหม่ เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
กรณีศึกษารัฐบาลเปิดที่นาซ่า องค์การเปิดรหัส
4
การบริหารงานสมัยใหม่
(Modern Management)
5
10 อันดับสูงสุดด้านธุรกิจ ปี ค. ศ
10 อันดับสูงสุดด้านธุรกิจ ปี ค.ศ (Top 10 Business Priorities in 2010) ปรับปรุงการบวนการดำเนินธุรกิจ (Business process improvement) ลดค่าใช้จ่ายของบริษัท (Reducing enterprise costs) เพิ่มการใช้สารสนเทศ/การวิเคราะห์ (Increasing the use of information/analytics) ปรับปรุงประสิทธิภาพผู้ปฏิบัติงานของบริษัท (Improving enterprise workforce effectiveness) ดึงดูดและยึดลูกค้าใหม่ (Attracting and retaining new customers) เริ่มดำเนินการการเปลี่ยนแปลงทางการบริหาร (Managing change initiatives) สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และการบริการใหม่ๆ (Creating new products or services-innovation) เน้นผู้ใช้บริการและเพิ่มประสิทธิภาพทางการตลาด (Targeting customers and markets more effectively) การรวมการดำเนินธุรกิจให้เป็นหนึ่งเดียว (Consolidating business operations) ดูแลความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการให้ดีขึ้น (Expanding current customer relationships)
6
10 อันดับกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีปี ค. ศ
10 อันดับกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีปี ค.ศ (Top 10 Strategic Technologies for 2010) การประมวลผลแบบก้อนเมฆ (Cloud Computing) - จัดเก็บ ประมวลผล และให้บริการสารสนเทศ การวิเคราะห์ขั้นสูง (Advanced Analytics) – จำลองและสร้างตัวแบบการตัดสินใจการบริหารงานที่ให้ประสิทธิผลสูงสุด การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client Computing) – ใช้ระบบเสมือนจริง (visualization) วางแผนบริหาร IT บนเส้นทางของความหลากหลายของระบบปฏิบัติการและโปรแกรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลกสีเขียว (IT for Green) – ใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-document) ลดการเดินทาง และทำงานจากระยะไกล (teleworking) การเปลี่ยนแปลงศูนย์ข้อมูล (Reshaping the Data Center) – ใช้ pod-based ในการสร้างและขยายระบบ การประมวลผลด้วยสังคม (Social Computing) – ใช้ซอฟต์แวร์และสื่อทางสังคม (social software and social media) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมขององค์กรและสังคมให้เป็นหนึ่งเดียวกับ การรักษาความปลอดภัย (Security) – ใช้เครื่องมือตรวจสอบและค้นหาสิ่งที่น่าสงสัยและคุกคามความปลอดภัยขององค์การ หน่วยความจำแบบแฟลช (Flash Memory) – ขนาดเล็ก ความเร็วสูงไม่ใช้แบตเตอรี่ การใช้ประโยชน์จากระบบเสมือนจริง (Virtualization for Availability) – ลดความเสียหาย โดยใช้ระบบเสมือนจริงทดลองก่อนนำไปใช้งานจริงหรือจัดหาคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ การปฏิบัติงานบนระบบเคลื่อนที่ (Mobile Applications) – ออกแบบโปรแกรมให้สามารถใช้งานได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) และคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ (Mobile)
7
รัฐบาลยุคสังคมแห่งความรู้ #1 (Knowledge-Age Government)
คุณลักษณะ ทำงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT enabled) ผนวกรวมเทคโนโลยี (convergent technologies) เข้ากับภาระหน้าที่ (perform tasks) ให้สามารถทำงานร่วมกันเป็นอย่างดีในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ ขับเคลื่อนด้วยความรู้ (Knowledge driven) เห็นคุณค่าและความสำคัญ (critical value) ของสารสนเทศและความรู้ (information and knowledge) และใช้เป็นทรัพยากรความรู้ทำให้เป็นมากกว่าความรู้และการประมวลผลสารสนเทศ ให้ความสำคัญกับผู้มาขอรับบริการ (Customer centric) การดำเนินการ (operations) และการบริหารงาน (management) ของรัฐบาลวางอยู่บนฐานความต้องการของผู้มาใช้บริการ (needs of the customer) ที่มา: Khunyeli, TB E-Government in the Free State Provincial Government.
8
รัฐบาลยุคสังคมแห่งความรู้ #2 (Knowledge-Age Government)
คุณลักษณะ ความสามารถในการเข้าถึง (Available and accessible) ทุกเวลา ทุกที่ (anytime, anywhere and by any means) เป็นเครือข่าย (Networked) ใช้ประโยชน์จากความสะดวก (flexibility) ของโครงสร้างเครือข่าย (network structures) ในปรับปรุง (improve) ผลงาน (performance ) และความรับผิดชอบ (responsiveness) ประสานความร่วมมือระหว่างกัน (Collaborative) ทำงานร่วมกับพันธมิตร (partnerships) โดยยึดถึงหลักของประโยชน์ที่จะได้รับ (based on comparative advantages) ที่มา: Khunyeli, TB E-Government in the Free State Provincial Government.
9
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับรัฐบาลเปิด (Open Government Movement)
US – Open Government Objectives: Opening “doors and data” to all citizens to promote transparency, participation and collaboration Projects: Recovery.gov, Data.gov, Federal Register 2.0 UK – Smarter Government Objectives: Radically opening up data and public information, releasing thousands of public data sets and making them free for re-use Projects: “Show Us a Better Way” contest; data.gov.uk; several Web 2.0 projects from outside government: e.g. MySociety.org; FixMYStreet.com; TheyWorkForYou.com; PatientOpinion.com Australia – Government 2.0 Objectives: “Build a public service that is smarter, more responsive, more strategic and personally rewarding Projects: Make public sector information open, accessible and reusable. Exhaust options to protect privacy and confidentiality before seeking an exemption. Use of information publication schemes to encourage the widest disclosure of information of general interest. Help agencies to overcome barriers
10
หลักสำคัญของรัฐบาลเปิด (Core Values of Open Government)
แนวทางหลักในการปรับเปลี่ยน (reshaping) การบริหารงานภาครัฐของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 3 หลักสำคัญ คือ ความโปร่งใส (Transparency) – เก็บรักษาสารสนเทศ (information maintained) เป็นสินทรัพย์ของชาติ (national asset) บริหาร (administration)ให้เหมาะสมด้วยการใช้กฎหมาย (law) และนโยบาย (policy) ให้ประชาชนเปิด (disclose) ค้น (find) และใช้ (use) สารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว รายงานสารสนเทศ (information) ผ่านระบบออนไลน์ (online) ให้ประชาชนทราบว่า รัฐบาลกำลังทำอะไร (doing) ดำเนินการ (operations) และตัดสินใจ (decisions) อย่างไร รวมถึงรับทราบสารสนเทศการตรวจสอบจากประชาชน (feedback) การมีส่วนร่วม (Participation) – รวมรวมความรู้ (knowledge) ความชำนาญ (expertise) และสารสนเทศจากประชาชนที่แพร่กระจายอยู่ในสังคมมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพการตัดสินใจ และการสร้างนโยบาย การทำงานร่วมกัน (Collaboration) – ใช้เครื่องมือ (tools) วิธีการ (methods) และระบบ (system) ที่นำใหม่ (innovative) ในการทำงานร่วมกัน (cooperate) ระหว่างหน่วยงานของรัฐในทุกระดับ หน่วยงานไม่แสวงกำไร หน่วยงานด้านธุรกิจ และบุคคลในภาคเอกชน
11
การบริหารงานแนวใหม่ของรัฐและเอกชน
ความพึงพอใจและความไว้วางใจ ให้ ความสำคัญ กับรัฐบาล ให้ ความสำคัญ กบประชาชน ระบบราชการ <-> การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ให้ ความสำคัญ กับบริษัท เอกชน ให้ ความสำคัญ กับลูกค้า ความพึงพอใจ ความไว้วางใจ และความภักดี จับต้องได้ บริหารการผลิตและการขาย <->บริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า ไม่สามารถจับต้องได้ ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น ห น่ ว ย ง า น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (เว็บ) สินค้าและบริการ สินค้าและบริการ
12
หัวใจการบริหารของรัฐและเอกชน
เก่า Organization Centric ใหม่ Customer/Citizen Centric ปัจจุบัน ?
13
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ (Modern Information Technology)
14
10 อันดับสูงสุดด้านเทคโนโลยี ปี ค. ศ
10 อันดับสูงสุดด้านเทคโนโลยี ปี ค.ศ (Top 10 Technology Priorities in 2010) ระบบจำลองเสมือนจริง (Virtualization) การประมวลผลแบบก้อนเมฆ (Cloud computing) เว็บ 2.0 (Web 2.0) เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลและเสียง (Networking, voice and data communications) การบริหารธุรกิจอย่างชาญฉลาด (Business Intelligence) เทคโนโลยีเคลื่อนที่ (Mobile technologies) จัดเก็บและบริหารข้อมูล/เอกสาร (Data/document management and storage) สถาปัตยกรรมและโปรแกรมเชิงบริการ (Service-oriented applications and architecture) เทคโนโลยีความปลอดภัย (Security technologies) การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT management)
15
เทคโนโลยีจำลองเสมือนจริงคืออะไร (What is Virtualization Technology?)
การจำลองสภาพแวดล้อมทางกายภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ x86 ให้ระบบปฏิบัติการ (operating system) แบบต่างๆ สามารถทำงานได้ การจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์หลายๆ ระบบได้
16
ซอฟต์แวร์จำลองเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนจริง (VMware Virtualization Software)
สร้างฮาร์ดแวร์เสมือนจริงบนสถาปัตยกรรม x86 (Creates virtual hardware on an x86 architecture) รวมกลไกเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนจริงทั้งหมดของแต่ละเครื่องไว้ใน 1 ไฟล์ (Encapsulates an entire machine in a set of files) แบ่งแยกให้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนจริงแต่ละเครื่อง (Isolates each virtual machine) แบ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ทางกายภาพ 1 เครื่อง ออกเป็นส่วน-ตามแต่ละระบบปฏิบัติการ (Partitions a single physical machine - different Oss)
17
ระบบจำลองเสมือนจริงเปลี่ยนแปลงระบบ x86 อย่างไร (How server virtualization transforms x86 systems)
Without Virtualization ทำลายการพึ่งพึงกันระหว่างระบบปฏิบัติการและฮาร์ดแวร์ (Break dependencies between OS and hardware) จัดการระบบปฏิบัติการและโปรแกรมให้อยู่ในห่อมัดเดียวกันโดย VMs (Manage OS and application as single unit by encapsulating them into VMs) แยกความเสียหายและความปลอดภัย (Strong fault and security isolation) VMs ทำให้เป็นอิสระด้านฮาร์ดแวร์ (VMs are hardware-independent: they can be provisioned anywhere) With VMware Virtualization 1 ระบบปฏิบัติการต่อเครื่อง (Single OS image per machine) ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ต้องเข้ากันได้ (Software and hardware tightly coupled ) ใช้โปรแกรมหลายโปรแกรมบนเครื่องเดียวกันมักจะทำให้เกิดการความขัดแย้งกัน (Running multiple applications on same machine often creates conflict) ใช้ประโยชน์ต่ำ ไม่สะดวก ค่าโครงสร้างพื้นฐานสูง (Underutilized, inflexible, costly infrastructure)
18
การใช้งานเครื่องลูกข่าย (Use VMware Workstation)
พัฒนาและทดสอบ (Development and testing) การใช้โปรแกรมเก่าหรือใหม่ และการเปลี่ยนระบบปฏิบัติการ (Application compatibility and operating system migration) ระบบช่วยเหลือและสนับสนุนทางเทคนิค (Help desk and technical support) การอบรมทางเทคนิคและนำเสนอการขาย (Technical training/education and sales demos) บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและบริหารระบบ (IT management and system management)
19
ประโยชน์ของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์เสมือนจริง
Configure hardware Install OS Configure OS Install backup agent Restore VM Power on VM Physical Virtual 40+ hrs < 4 hrs
20
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) เครื่องแม่ข่ายคอมพิวเตอร์ (Server) Pocket PC Tablet Notebook Supper Computer Mainframe Mini RISC CISC Desktop RISC=Reduced Instruction Set Computer CISC=Complex Instruction Set Computer Workstation SUN Sparc IBM RS/6000 Motorola 88000 x86 Client
21
การประมวลผลแบบก้อนเมฆ (Cloud Computing)
การประมวลผลแบบก้อนเมฆ คือ รูปแบบหนึ่งของการประมวลผล (computing) ที่สามารถปรับเปลี่ยนขนาด (scalable) ด้วยการลดหรือเพิ่ม (elastic) บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นการให้บริการผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต (Internet technologies) การประมวลผลแบบก้อนเมฆ คือ การประมวลผลบนอินเทอร์เน็ต (Internet-based computing) ด้วยการใช้ทรัพยากร ซอฟต์แวร์ และสารสนเทศร่วมกัน (shared resources, software, and information) โดยการให้บริการไปยังคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างตามความต้องการ (on demand) เหมือนกับเครือข่ายของพลังงานไฟฟ้า (electricity grid) ที่มา: Garther, Inc Cloud Computing. Wikipedia Cloud Computing.
22
ประเภทของการให้บริการ (What Services are Typically Delivered?)
การเข้าถึงการประมวลผลแบบก้อนเมฆ เป็นการเช่าบริการที่ต้องการใช้ (Accessing the cloud is about renting X as a Service) SaaS Software as a Service (บริการด้านซอฟต์แวร์) เช่าใช้ซอฟต์แวร์ (software solutions) ผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น salesforce.com PaaS Platform as a Service (บริการด้านแพลตฟอร์ม) เช่าใช้สภาพแวดล้อมของโปรแกรม (application environment) ผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น Google App Engine Key Message: The proof of the cloud is in what is offered – the actual “X as a Service” IaaS Infrastructure as a Service (บริการด้านโครงสร้างพื้นฐาน) เช่าใช้ความสามารถในการประมวลผล (computing power) หรือที่เก็บข้อมูล (storage) ผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น Amazon’s EC2 & S3
23
รูปแบบการบริหารการประมวลผลแบบก้อนเมฆ (Cloud Deployment Models)
ตัวแบบภายใน (Internal/Private/Enterprise cloud) โครงสร้างพื้นฐานของระบบประมวลแบบก้อนเมฆ ที่บริหารงานเองโดยองค์การของผู้ใช้บริการ ตัวแบบชุมชน (Community cloud) โครงสร้างพื้นฐานของระบบประมวลแบบก้อนเมฆ ที่เจ้าของทำการร่วมมือกับหลายองค์การและช่วยเหลือกันเฉพาะชุมชนที่ร่วมมือกัน เช่น ด้านภารกิจ ด้านความปลอดภัย นโยบาย และข้อตกลง เป็นต้น ตัวแบบสาธารณะ (Public cloud) โครงสร้างพื้นฐานของระบบประมวลแบบก้อนเมฆ ที่เป็นเจ้าโดยองค์การที่เป็นผู้ขายบริการการประมวลผลแบบก้อนเมฆ ไปยังประชาชนทั่วไป หรือกลุ่มอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ตัวแบบผสม (Hybrid cloud) โครงสร้างพื้นฐานของระบบประมวลแบบก้อนเมฆ ที่ประกอบด้วยตั้งแต่ 2 สภาพแวดล้อมการประมวลผลแบบก้อนเมฆขึ้นไป (ตัวแบบภายใน ตัวแบบสาธารณะ หรือตัวแบบชุมชน) แต่มีขอบเขตระหว่างกันตามมาตรฐานที่กำหนดไว้หรือความเป็นเจ้าของเทคโนโลยีในการใช้ข้อมูลและโปรแกรม เพื่อใช้เกิดความคล่องตัว ความยืดหยุ่น และความปลอดภัยมากที่สุด โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ที่มา: Greenfield, Tom Cloud Computing in a Military Context – Beyond the Hype.
24
การประมวลผลแบบก้อนเมฆตัวแบบผสม (Hybrid Cloud Models)
ศูนย์ข้อมูลของหน่วยงานไปเลือกใช้ประโยชน์จาก SAAS หรือ PAAS หรือ IAAS ตามความเหมาะสม Private Cloud Traditional Data Center Virtualization Real-time Infrastructure Internal Cloud Public Cloud PaaS SaaS IaaS External Cloud(s) Hosting Hybrid Cloud optimized on + off premises The off-premises and on-premises models of computing are both evolving… and ultimately coming together. Unisys is both working with both our technology and RTI partners to bring this together to make it reality. ที่มา: Dillman, Frederick The Business Benefits of Cloud Computing. Points/West Virginia IT Conference - Cloud Computing ppt 24
25
คอมพิวเตอร์กับค่านิยมในสังคมปัจจุบัน
PDA - Palm Walkman Sony Robot Sony PDAs and accessories (i.e. Palm pilot) Electronics everywhere (i.e. SONY) : dog AIBO LEGO mind storm Digital video MPEG (1995) Portable digital multimedia Easy wireless connection Plug-and-play devices Robot - LEGO PC - i/MAC PDA - Sony Tablet PC - Fujitsu
26
แนวโน้มของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 (First Generation) ยุคที่ 2 (Second Generation) ยุคที่ 3 (Third Generation) ยุคที่ 4 (Fourth Generation) ยุคที่ 5 (Fifth Generation) หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tubes) วงจรทรานซิสเตอร์ (Solid-State) วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Integrated Circuits) แผงซิลิกอน/ชิป (LSI, VLSI Micro- Processors) นาโนเทคโนโลยี (Greater Power, Smaller Footprint) Trend: Toward Smaller, Faster, More Reliable, and Less Costly Trend: Toward Easy to Purchase, and Easy to Maintain
27
อนาคตของคอมพิวเตอร์
28
เว็บรุ่นที่ 2 (Web 2.0) ออกแบบโดยเน้นผู้ใช้งาน (user-centered design)
ทุกคน คือ ผู้สร้าง (creator) และเป็นผู้บริโภค (consumer) การติดต่อกันแบบพลวัตร (dynamic interaction) การแบ่งปันสารสนเทศ (information sharing) สามารถทำงานร่วมกัน (interoperability) บนเว็บ ใช้สื่อกลางในเครือข่ายของสังคม (social media) ประสานงานกัน (collaboration) ในชุมชนเสมือนจริง (virtual community)
29
ยุคของเว็บ Web 1.0 = อ่านอย่างเดียว (Read Only) ข้อมูลไม่มีพลวัตร (static data) โดยใช่คำสั่งง่าย (with simple markup) Web 1.0 สามารถแบ่งปันซอฟต์แวร์และไฟล์ แต่มีความซ้ำซ้อน Web 1.0 สร้างสารสนเทศ โดยไม่มี media ผู้ใช้แต่ละคนเป็นผู้ push to and pull by. Web 2.0 = อ่าน/เขียน (Read/Write) ข้อมูลมีพลวัตร (dynamic data) ผ่าน web services Web 2.0 คือ Web 1.0 ที่เพิ่มความสามารถให้ผู้ใช้แต่ละคนสามารถ push สารสนเทศและ media ไปที่เว็บไซต์ (Web site) Web 2.0 มีบริการแบ่งปัน (share) แบบจิ๋วแต่แจ๋ว (sophisticated functionality) ช่วยลดความซ้ำซ้อน Web 3.0 = อ่าน/เขียน/สัมพันธ์ (Read/Write/Relate) ข้อมูลมีคำอธิบายที่เป็นโครงสร้าง (data with structured metadata) + จัดการได้เฉพาะบุคคล (managed identity) Web 3.0 จะเป็น Web 2.0 ที่แต่ละคนสามารถแบ่งปันกันเป็นกลุ่ม (share as a group) และเป็นระบบออนไลน์สารสนเทศและ media Web 3.0 เปลี่ยนความคิดและการเรียนรู้ของมนุษย์ (human intelligence) ไปสู่ความร่วมมือแบบมีพลวัตร (dynamic cooperative) โดยเชื่อมโยงกับเครือข่ายปัญญาประดิษฐ์ส่วนบุคคล (personal A.I.) ทำให้เรามีความสามารถในแบ่งปันและสมรรถนะสูง (talent) เพิ่มมากขึ้น ที่มา:
30
Recommendations/Filtering
ตัวอย่างของเว็บ 2.0 Web Application Aggregation/ Recommendation Widget/ Component Content Sharing Recommendations/Filtering Rating/ Tagging Collaborative Filtering Social Network
31
เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว คืออะไร (What is Green IT?)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสีเขียว คือ การใช้ประโยชน์ (utilization) จากเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยการลดผลกระทบ (impact) ขององค์การ (organization) ต่อสิ่งแวดล้อม (environment) ไปพร้อมๆ กับการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การให้มีประสิทธิภาพ (enhancing) Question – what does the airline and ICT industries have in common? Question – what does the ICT and airline industries have in common? The surprising answer is that they both account for about 2% of global CO2 emissions.
32
เทคโนโลยีช่วยได้อย่างไร (How does Technology help?)
ปรับปรุงการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทั่วโลก (Improved internet connectivity around the world) ใช้การสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified communication solution: UC) การประมวลผลแบบก้อนเมฆ (Cloud Computing) ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายจากการจำลองเสมือนจริง (Server Virtualization) ใช้การทำงานร่วมมือ (Collaborative solution) บริหารการพิมพ์และกระดาษ (Paper and Print Management) ใช้เครื่องมือจัดการอุปกรณ์ที่ใช้พลังงาน (Device energy management tools )
33
เราสามารถทำอะไรได้บ้าง (What can we do about it?)
ด้านกลยุทธ์ (In strategy) – ผลตอบแทนจากการลงทุนการค้าคาร์บอน (Carbon ROI) สร้างสำนักงานประหยัดพลังงาน (Office estate) ทำงานจากบ้านหรือผ่านระบบเคลื่อนที่ (Flexible / mobile & home working) ด้านการจัดซื้อ (In purchasing) – เสนอวงจรการเปลี่ยนไปใช้สิ่งใหม่ (Extending replacement cycles) สอบถามเกี่ยวกับนโยบายสีเขียวของโรงงาน (Asking questions about green manufacture) กำหนดหนังสือรับรองสินค้าสีเขียว (Specifying green credentials) ใช้บริการผู้ขายในท้องถิ่น (Local suppliers?) ร่วมมือกันสร้างอำนาจการจัดซื้อ (Collaboration to increase purchasing power) Excess packaging ด้านการใช้คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (In use on the desktop) – เลือกใช้อุปกรณ์ (Thin clients, Laptops vs desktops, CRTs vs LCD panels) การเปลี่ยนใหม่ (Replacement strategy) รณรงค์การปิด-เปิด (Switch-off campaign) จัดการการใช้พลังงาน (Power management) ควบคุมการเปิด-ปิดจากระยะไกล (Remote power-down) พิมพ์งานแบบรวมศูนย์ (Centralised printing) ใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงแบบอรรถประโยชน์ (Multi-functional peripherals) ด้านศูนย์ข้อมูล (In the data centre) – เครื่องแม่ข่ายแบบจำลองเสมือนจริง (Server virtualisation) การใช้พลังงานไฟฟ้า+ความร้อน (Combined Heat and Power: CHP) พลังงานจากธรรมชาติ (solar, wind) เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cells) ระบบร่วมความร้อน+ความเย็น (Hot aisle cold aisle layouts) ด้านการกำจัดสิ่งของ (Upon disposal) – ควบคุมการจำกัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ (Waste electrical and electronic equipment (WEEE) Directive) พัฒนาใหม่ (Redeploy) นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycling)
34
การหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว (What is CONVERGENCE?)
บริการ (S E R V I C E S) Energy Access Surveillance Fire HVAC Lifts Lighting Internet Signage Conferencing Telephony Information Systems Wireless Planet HVAC = Heating, Ventilation and Air-conditioning (ระบบปรับอากาศ)
35
อาคารสีเขียว (Green buildings)
วัดระดับแสง และรับแสงตะวัน (Light level meters, daylight harvesting) เพดานและความร้อนแบบพลวัตร รับอากาศบริสุทธ์สูงสุด (Dynamic chilling/heating, maximized fresh air) ตรวจสอบการใช้สำนักงาน (Occupancy sensors) ควบคุมการเข้าออก (Access Control) ทีวีวงจรปิดผ่านอินเทอร์เน็ต (IP CCTV) ปรับเสียงที่ชัดเจนพอเหมาะ (White Noise Level Adjustments) การประชุมทางไกล (Tele/video Conference) สัญญาณไร้สาย (Wireless) หน้าต่างรับอากาศจากธรรมชาติ (Operable windows for natural ventilation) ติดตาม/ควบคุมพลังงาน (Power monitoring)
36
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Operating System: OS)
Mobile Phone OS Desktop OS Server OS Android Linux iOS (Mac) Mac Microsoft Windows Mobile Microsoft Windows Microsoft Windows Server Symbian Google Chrome BlackBerry (RIM) UNIX Palm OS/2 Netware
37
ส่วนแบ่งการตลาดของ Smartphone OS
2009 2010 2011 2014 Symbian 46.9 % 40.1 % 34.2 % 30.2 % Android 3.9 % 17.7 % 22.2 % 29.6 % BB (Research In Motion: RIM) 19.9 % 17.5 % 15 % 11.7 % iOS (Mac) 14.4 % 15.4 % 17.1 % 14.9 % Windows Phone 8.7 % 4.7 % 5.2 % Others 6.1 % 6.3 % 9.6 % รวม 100.0% ทีมา: Gartner Gartner Says Android to Become No. 2 Worldwide Mobile Operating System in 2010 and Challenge Symbian for No. 1 Position by
38
โปรแกรมใช้งานทั่วไปสำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
Word Processing Spreadsheets Presentation Data Base Management Web Browsers Etc.
39
แนวโน้มของซอฟต์แวร์ ยุคที่ 1 (First Generation) ยุคที่ 2
(Second Generation) ยุคที่ 3 (Third Generation) ยุคที่ 4 (Fourth Generation) ยุคที่ 5 (Fifth Generation) User-Written Programs Machine Languages Packaged Symbolic Operating Systems High-Level DBMS Fourth-Generation Microcomputer Packages Natural & Object-Oriented Multipurpose Graphic- Interface Network-Enabled Expert-Assisted Trend: Toward Easy-to-Use Multipurpose Network-Enabled Application Packages for Productivity and Collaboration Trend: Toward Visual or Conversational Programming Languages and Tools
40
อนาคตของซอฟต์แวร์
41
วิวัฒนาการด้านการสื่อสารของมนุษย์
42
องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sending Device) ช่องทางการส่งสัญญาณ (Communications link) อุปกรณ์รับข้อมูล (Receiving Device)
43
การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต (Application on IP Network)
Home Automation IP Phone IP - TV Application on IP Network โครงข่าย IP สามารถรองรับบริการได้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น Broadband Internet IP Phone Home Automation IP-TV Video Conference Broadband Internet Video Conference ที่มา:
44
คนกับคอมพิวเตอร์ มิติของคอมพิวเตอร์ มิติของความสามารถ
พนักงานบันทึกข้อมูล (Data Entry Operators) พนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operators) โปรแกรมเมอร์ (Programmers) นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysts) ผู้บริหารเครือข่าย (Network Managers) มิติของความสามารถ ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Professional) หรือผู้มีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Competence) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (User) หรือผู้มีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Literate)
45
กลุ่มคน รุ่น (Generation) เกิด Seniors ก่อน ค.ศ. 1925 (พ.ศ. 2486)
Builders ค.ศ. 1926–1945 (พ.ศ ) Boomers ค.ศ. 1946–1964 (พ.ศ ) Generation X ค.ศ. 1965–1981 (พ.ศ ) Generation Y ค.ศ. 1982–2000 (พ.ศ ) Generation Z ค.ศ (พ.ศ )
46
คนรุ่น Y (Generation Y)
Reynol Junco and Jeanna Mastrodicasa (2007) สำรวจนักศึกษาจำนวน 7,705 คน ในสหรัฐอเมริกา พบว่า 97% มีคอมพิวเตอร์เป็นของตนเอง 94% มีโทรศัพท์มือถือเป็นของตนเอง 76% ใช้ Instant Messaging. 15% ของผู้ใช้ IM ออนไลน์ 24 ชั่วโมง/วัน 7 วัน/สัปดาห์ 34% ใช้เว็บไซต์เป็นแหล่งข่าวเบื้องต้น (primary source of news) 28% มี blog และ 44% อ่าน blogs 49% ดาวโหลดเพลงโดยใช้ peer-to-peer file sharing 75% นักเรียนในมหาวิทยาลัยเป็นสมาชิก Facebook 60% มีเครื่องฟังเพลงแบบเคลื่อนที่ (portable music) และ/หรือมีเครื่องเล่น video เช่น iPod. ที่มา: Conventry University Managing Electronic Content Trends & Influences.
47
ลักษณะของคนแต่ละกลุ่ม
Gen Y Students 1980s, 1990s, 2000s Net Generation Socialise online Chat, SMS, games, simulations At ease in immersive worlds Boomers & Gen-X Teachers 1940s, 1950s, 1960s 1970s Print generation Socialise in restaurants News, current affairs, reading, holidays, Parkinson Aliens in an online world ที่มา: Murray, Cecilie. n.d. M-Learning and the New Students’ Thinking.
48
กลุ่มคนกับการยอมรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ
กลุ่มผู้บุกเบิก (explorer) เป็นผู้ที่มีความตื่นตัวด้านเทคโนโลยีสูง ชอบเสี่ยงภัย ชอบทดลองสิ่งใหม่ ๆ ยากรู้ยากเห็น ชอบค้นหาสิ่งใหม่ ๆ ชอบติดต่อกับผู้อื่น มีการเรียนรู้และยอมรับเทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุต่ำกว่า 30 ปี มีการศึกษา รายได้สูง และใช้เทคโนโลยีมาก กลุ่มผู้นำการยอมรับ (pioneer) เป็นผู้ที่ต้องการได้ประโยชน์จากการเป็นผู้เริ่มต้นใช้เทคโนโลยี แต่มีความตระหนักถึงอุปสรรคและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่น่าเชื่อถือ น่าเคารพ มีคุณสมบัติของการเป็นผู้นำทางความคิดของสังคมมากกว่ากลุ่มอื่น มีอายุระหว่าง ปี มีการศึกษาปานกลาง มีรายได้ปานกลาง และใช้เทคโนโลยีมาก กลุ่มพวกลังเล (skeptic) เป็นผู้ที่มีความรอบครอบระมัดระวัง มีการแลกเปลี่ยนความคิดกับกลุ่มเพื่อนในสังคม ต้องทำให้เห็นถึงประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีอย่างชัดเจน ก่อนรับเทคโนโลยีจะใช้เวลาในการตัดสินใจนามกว่าสองกลุ่มแรก ส่วนใหญ่อายุประมาณ 40 ปี มีการศึกษาปานลาง มีรายได้ปานกลาง มีความสุขุมรอบครอบ และใช้เทคโนโลยีระดับปานกลาง กลุ่มพวกหัวดื้อ (paranoid) เป็นผู้ที่ต้องทำให้เชื่อว่าเทคโนโลยีมีประโยชน์และไม่มีความเสี่ยงเกิดขึ้น ตกลงยอมรับเทคโนโลยีช้ากว่ากลุ่มอื่น ๆ ส่วนมากจะยอมรับเทคโนโลยีเมื่อคนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับไปแล้ว ส่วนใหญ่เป็นอายุประมาณ 45 ปี มีการศึกษาน้อย รายได้ต่ำ และใช้เทคโนโลยีน้อย กลุ่มผู้ล้าสมัย (laggard) เป็นผู้ที่ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จนกว่าสถานการณ์จะบังคับ เพราะไม่ชอบความแปลกใหม่ ยึดมั่นในสิ่งเก่า ๆ กลุ่มนี้จะยอมรับเทคโนโลยีก็ต่อเมื่อเทคโนโลยีนั้นใช้กันมานานพอสมควรจนกลายเป็นวิถีชีวิตอย่างหนึ่งไปแล้ว ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ มีการศึกษาน้อย รายได้ต่ำ และใช้เทคโนโลยีน้อย
49
กรณีศึกษารัฐบาลเปิดที่นาซ่า (Lesson Learned: Open Government at NASA)
50
นาซ่า: 3+1 เสาหลักของการบริหารองค์การ (NASA: 3+1 Core Value)
ความโปร่งใส (Transparency) – What type of datasets would you like to see on data.gov (and why)? การมีส่วนร่วม (Participation) – What are some ways you would like to participate in space? การทำงานร่วมกัน (Collaboration) –So, what do we want to work together on? การสร้างนวัตกรรม (Innovation) – What are your ideas on how to do this?
51
นาซ่า: 3 เป้าหมายเริ่มต้น (NASA: Three "Flagship" initiatives)
นโยบาย (Policy) - พัฒนาซอฟต์แวร์แบบเปิดรหัส (open source software development) เทคโนโลยี (Technology) - ประมวลผลบนก้อนเมฆแบบเปิดรหัส (open-source cloud computing platform) วัฒนธรรม (Culture) – สร้างสำนักงานการสำรวจแบบมีส่วนร่วม (Participatory Exploration Office)
52
นาซ่า – การพัฒนาซอฟต์แวร์เปิดรหัส (NASA: Open Source Software Development)
ตั้งแต่ปี 2003 เป็นต้นมานาซ่าได้ใช้ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นภายใต้ NOSA (NASA Open Source Agreement) มากกว่า 60 ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างซอฟต์แวร์เปิดรหัสของนาซ่า Vision Workbench (VW) คือ โปรแกรมสำหรับประมวลผลภาพ (image processing and computer vision library) World Wind คือ โปรแกรมโลกเสมือน (virtual globe) แบบสามมิติ World Wind
53
USAspending.gov 2.0 is hosted on NASA Nebula
นาซ่า: โครงการการประมวลผลบนก้อนเมฆแบบเปิดรหัส (NASA: Open Source Cloud Computing Platform) Nebula หรือ Super Cloud Infrastructure-as-a-Service (IaaS) Platform-as-a-Service (PaaS) Software-as-a-Service (SaaS) Database-as-a-Service (DBaaS) การทำงานร่วมกัน (interoperability) กับผู้ให้บริการประมวลผลบนก้อนเมฆเชิงพาณิชย์ เช่น Amazon Nebula เปิดเผยรหัสให้กับชุมชน (opens the doors to crowd sourcing) และความร่วมมือ (collaboration) กับรัฐบาลในการสร้างประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรด้านการประมวลผลอย่างประหยัด Nebula Container USAspending.gov 2.0 is hosted on NASA Nebula
54
Pixels indicate Clickworker's identified craters
นาซ่า: สำนักงานการมีส่วนร่วมการสำรวจ (NASA: Participatory Exploration Office) ปี 2000 นักวิทยาศาสตร์ของนาซ่าใช้ "clickworkers“ หรือ อาสาสมัครทั่วไป (public volunteers) ทดลองนับปล่องภูเขาไฟบนดาวอังคารจากการรับรู้ของมนุษย์ (human perception) ปี 2009 นาซ่าร่วมมือกับบริษัทไมโครซอฟต์จำกัด สร้างประสบการณ์ให้กับประชาชนที่จะเข้ามามีส่วนร่วมเป็นนักวิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง (citizen scientists) และสร้างประสบการณ์การด้านดาวอังคารด้วยการตรวจสอบแผนที่จากการนับปล่องภูเขาไฟ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ให้นิสิตร่วมออกแบบและสร้างเครื่องมือในการสำรวจอวกาศ ปีงบประมาณ 2011 ประธานด้านงบประมาณเสนอให้นาซ่าสร้าง Participatory Exploration Office ใช้เว็บไซต์เป็นช่องทางการมีส่วนร่วมในโครงการของทุกหน่วยงานผ่าน Pixels indicate Clickworker's identified craters Student Dust Counter (SDC)
55
นาซ่า: โครงการเด่นๆ ของนาซ่า (NASA: Unique to NASA)
ระบบออนไลน์การมีส่วนร่วมของประชาชน (online Citizen Engagement Tool) - รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผ่านระบบออนไลน์ โทรทัศน์นาซ่า (NASA TV.) – ถ่ายทอดสดให้ประชาชนเข้าไปดูการปฏิบัติภารกิจของน่าซ่า การศึกษา (Education ) – ให้ความรู้ด้านอวกาศกับผู้สอน ผู้เรียน และเด็ก โดยนักเรียนสามารถติดต่อกับมนุษย์อวกาศและควบคุมอุปกรณ์ในอวกาศด้วยระบบทางไกล โครงการรางวัลนาซ่า (NASA’s prize program) - สนับสนุนและให้รางวัลความสำเร็จในการออกแบบและประดิษฐ์เทคโนโลยีด้านอวกาศกับนักประดิษฐ์จากทั่วประเทศ
56
นาซ่า – เครื่องมือร่วมแสดงความคิด (NASA – IdeaScale)
57
นาซ่า – การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมของพลเมือง (NASA - Citizen Engagement Analysis)
IdeaScale ระบบสนับสนุนการมีส่วนร่วมของพลเมืองของนาซ่า และ 22 หน่วยงานของรัฐบาลกลาง สิ่งที่เราสามารถทำได้ (Things we can do) สิ่งที่เราทำและทำแล้ว (Things we do or have done) สิ่งที่เราไม่สามารถทำได้ (Things we cannot do) ไม่ชัดเจน (Unclear) ปิดหัวข้อ (Off-topic)
58
นาซ่า – โทรทัศน์นาซ่า (NASA – NASA TV.)
Education Channel ≈ 4,500 h/y Mission Operations Channel ≈2,500 h/y Media Services ≈ 5,200 h/y NASA TV Channels Public Channel ≈24/7
59
นาซ่า – สื่อผสม (NASA – Multimedia)
TV Videos Images Podcasts Interactive Features 3D Resources RSS Feeds Blogs
60
นาซ่า – การศึกษา (NASA – Education)
Game Kids’ Club Digital Learning Network Visualization Towers in the Tempest
61
นาซ่า: เป้าหมายรัฐบาลเปิดด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์เปิดรหัส (NASA: Open Government Goals- Open Source Software Development ) 3 เดือน อนุญาตให้ใช้ไซต์พัฒนาซอฟต์แวร์เปิดรหัส ไซต์ทั่วไป (เช่น SourceForge, GitHub) เป็นเว็บโฮสติ้งสำหรับเผยแพร่ซอฟต์แวรเปิดรหัสของนาซ่า สร้างเครื่องมือเพื่ออำนวยความสะดวก (facilitate) กระบวนการเผยแพร่ซอฟต์แวร์เปิดรหัส (เช่น database of third-party libraries cleared for use by NASA software). 6 เดือน สร้างเว็บไซต์ opensource.nasa.gov เป็น "one-stop shop" สำหรับระบบซอฟต์แวร์เปิดรหัสของนาซ่า (เช่น policies, guidelines, process documents, project links) เพื่อสนับสนุนนักพัฒนา ฝ่ายเผยแพร่ และประชาชน ใช้กระบวนการอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด (implement all-electronic processes) ในการรับ/ให้บริการกับ third-party (including electronic signature of contributor license agreement). 1 ปี ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบการเผยแพร่ซอฟต์แวร์เปิดรหัสของนาซ่าให้มีความไหลลื่น (streamline) ภายใน 2-4 สัปดาห์ 2 ปี สร้างกระบวนการริเริ่มโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์นาซ่าไปเป็นเปิดรหัส ทั้งรูปแบบการใช้การพัฒนาแบบชุมชน (community development) และผู้ให้บริการเว็บโฮสติ้งรหัสต้นฉบับทั่วไป (public source code hosting)
62
The principles of Open Government have been embedded in our operations for 50 plus years. We recognize that open government is a process rather than a product, and have taken a continuous-learning approach.
63
(Open Source Organization: OSO)
องค์การเปิดรหัส (Open Source Organization: OSO)
64
แนวคิด OSO การบริหาร คน เทคโนโลยี
65
เทคโนโลยี (Technology) การจัดการ (Management) การพัฒนา (Development)
ห่วงโซ่การบริหาร ฝ่ายให้บริการ (Front Office) ฝ่ายสนับสนุน (Middle Office) ฝ่ายไอที (Back Office) เทคโนโลยี (Technology) นโยบาย (Policy) การเงิน (Financial) การดำเนินงาน (Implementation) การประเมินผล (Evaluation) การจัดการ (Management) หลักสูตร (Course) การอบรม (Training) การวิจัยและพัฒนา (R&D) การพัฒนา (Development)
66
เทคโนโลยี ฝ่ายไอที (Back Office) ฝ่ายสนับสนุน (Middle Office)
Server LAMP WAMP MAMP XAMPP CMS Wordpress Drupal Joomla Guppy ฝ่ายสนับสนุน (Middle Office) Open OS Open Office Open Browser Open Utility ฝ่ายให้บริการ (Front Office) Website Social Media Facebook Twitter Google
67
การบริหาร นโยบาย (Policy) การเงิน (Financial)
การดำเนินงาน (Implementation) การประเมินผล (Evaluation) เว็บไซต์ และ สื่อสังคมออนไลน์
68
การพัฒนา Open Source หลักสูตร การวิจัยและพัฒนา การอบรม
69
ธรรมชาติและความเป็นจริง
องค์การเปิดรหัส = ใช้เทคโนโลยีเปิดรหัสให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ องค์การเปิดรหัส = เปิดรหัสการบริหารให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ องค์การเปิดรหัส = พัฒนาองค์การด้วยแนวคิดเปิดรหัสให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้
71
เอกสารอ้างอิง Baltzan, Paige and Phillips, Amy Business driven information systems. 2ed. Boston : McGraw-Hill/Irwin. Brooks , Lloyd. Trends in Information Technology. Gartner Inc Gartner Identifies the Top 10 Strategic Technologies for Gartner Inc Gartner EXP Worldwide Survey of Nearly 1,600 CIOs Shows IT Budgets in 2010 to be at 2005 Levels. Legault, Suzanne Reaping the Benefits of Open Government. Office of Historian Open Government Comes to the Department of State: A case study exploring the Office of the Historian’s migration to web publication. White House About Open Government. Mufford, Grant. n.d. VMware Software. Customer.pps VMware, Inc VMware Infrastructure 3 The Next Generation in Virtualization.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.