ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
2
ร้อยละผู้ป่วยเข้าถึงบริการ
ประเภทผู้ป่วย รหัส ICD 10 ความชุก กลุ่มอายุ เป้าหมาย % โรคซึมเศร้า F32,F33,F34.1,F38,F39 2.3 15 ปีขึ้นไป 50 โรคจิต F20 0.8 65 ผู้ป่วยที่เกิดจากการดื่มสุรา F10.0-F10.9 10.9 10 จิตเวชเด็ก Autistic F84 0.6 2-5 ปี 8 จิตเวชเด็กสมาธิสั้น ADHD F90 5.4 6-15 ปี Update
3
เยี่ยมบ้านผู้ป่วยสุขภาพจิต
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 diagnosis_opd Z09.9 Follow-up examination after unspecified treatment for other conditions (เยี่ยมบ้าน) community_service 1A020 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิต 1A021 เยี่ยมผู้ป่วยโรควิตกกังวล 1A022 เยี่ยมผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 1A023 เยี่ยมผู้ป่วยโรคปัญญาอ่อน 1A024 เยี่ยมผู้ป่วยโรคลมชัก 1A025 เยี่ยมผู้พยายามฆ่าตัวตาย 1A028 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิตและปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆ 1A029 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิตและปัญหาสุขภาพจิต ไม่ระบุรายละเอียด
4
การคัดกรองจิตเวช แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3
diagnosis_opd Z13.3 Special screening examination for mental and behavioural disorders ถ้าคัดกรองแล้วพบภาวะซึมเศร้า ให้เพิ่มรหัส F329 specialpp ประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q ประเมินภาวะซึมเศร้า 9Q ประเมินการฆ่าตัวตาย 8Q ประเมินความเครียด ST5 กลุ่มเป้าหมาย 7 กลุ่ม ผู้ป่วยโรคทางกายเรื้อรัง (เบาหวาน ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด) หญิงตั้งครรภ์/หลังคลอด ผู้มีปัญหาสุรา/ยาเสพติด ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยสูงอาย ผู้ที่มาด้วยอาการซึมเศร้าชัดเจน ผู้ป่วยที่มีอาการทางกายหลายอาการที่หาสาเหตุไม่ได ผู้ที่มีการสูญเสีย : คนรักหรือทรัพย์สินจำนวนมาก
5
แบบประเมินระดับความรุนแรงของการเสพติดนิโคติน (Fagerstrom Test for Level of Nicotine Dependence )
การแปลผล FTND ซึ่งเป็นแบบประเมินจำนวน 6 ข้อ จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ประเมินได้คะแนนไม่เกิน 4 คะแนน แสดงว่ามีระดับการเสพติดนิโคตินค่อนข้างต่ำ ประเมินได้คะแนนอย่างน้อย 6 คะแนน แสดงว่าผู้สูบบุหรี่มีระดับการเสพนิโคตินค่อนข้างสูง
6
คำถามที่ใช้ คะแนน คุณสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอนตอนเช้าเมื่อใด สูบทันทีหลังตื่นนอนหรือภายในไม่เกิน 5 นาที สูบหลังตื่นนอนเกิน 5 นาที แต่ไม่เกินครึ่งชั่วโมง สูบหลังตื่นนอนเกินครึ่งชั่วโมงแต่ไม่เกิน 1 ชั่วโมง สูบหลังตื่นนอนเกิน 1 ชั่วโมง 3 2 1 คุณรู้สึกอย่างไร หากไม่สามารถสูบบุหรี่ได้ในพื้นที่ที่ห้ามสูบเป็นระยะเวลานาน เช่น ในห้องสมุด หรือ ในโรงภาพยนตร์ หงุดหงิด อึดอัด เฉยๆ ในแต่ละวันบุหรี่มวนใดที่คุณคิดว่า ถ้าไม่ได้สูบแล้วจะหงุดหงิดมากที่สุด มวนแรกที่สบในตอนเช้า มวนไหน ๆ ก็เหมือนกัน โดยปกติคุณสูบบุหรี่วันละกี่มวน มากกว่า 31 มวนขึ้นไป 21-30 มวน 11-20 มวน ไม่เกิน 10 มวน โดยเฉลี่ยคุณสูบบุหรี่มากที่สุดในช่วง 2- 3 ชั่วโมงแรกหลังตื่นนอนมากกว่าช่วงอื่นๆ ของวันใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ขณะเมื่อคุณป่วยต้องนอนอยาบนเตียงเกือบตลอดเวลาคุณต้องสูบบุหรี่ หรือไม่
7
ผู้สูบบุหรี่ที่ควรได้รับ คำแนะนำให้เลิกบุหรี่
การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก / ผู้ป่วยใน ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น ผู้สูบบุหรี่ ตามรหัส ICD 10 การให้บริการเลิกบุหรี่ หมายถึง รหัส ICD 10 ผู้สูบบุหรี่ต้องได้รับการ บำบัดรักษาตามแนว ทางการบำบัดรักษาโรค ติดบุหรี่ ผู้ที่ได้รับการประเมินระดับความรุนแรงของการเสพติดสารนิโคติน (Fagerstrom Test) ได้คะแนน 4-10 คะแนน แสดงว่ามีระดับการเสพติด นิโคตินระดับปานกลาง ถึง รุนแรง F17.2 (Tobacco Dependence) เมื่อได้รับการบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง เพิ่มรหัส Z 50.8 (การบำบัดรักษา ต่อเนื่อง) ผู้สูบบุหรี่ที่ควรได้รับ คำแนะนำให้เลิกบุหรี่ ผู้ที่ได้รับการประเมินระดับความรุนแรงของการเสพติดสารนิโคติน (Fagerstrom Test) ได้คะแนนน้อยกว่า 4 คะแนน แสดงว่ามีระดับการเสพ ติดนิโคตินค่อนข้างต่ำ Z72.0 (Tobacco Use) เมื่อได้รับคำแนะนำเพื่อให้เลิกบุหรี่ ให้เพิ่มรหัส Z71.6 (การให้ คำแนะนำเพื่อเลิกบุหรี่)
8
การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก / ผู้ป่วยใน ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น ผู้ติดสุรา ตามรหัส ICD 10 การให้บริการเลิกสุรา F10.0-F10.9 Mental and behavioral disorders due to use of alcohol ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมที่เกิดจากการเสพสุรา Z502 Alcohol rehabilitation การฟื้นฟูสภาพผู้ติดสุรา
10
XXXX XXXXXX
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.