งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ Computer System

2 Content 1. ความหมายและคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ 2. ประวัติความเป็นมา
1. ความหมายและคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ 2. ประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ 5.1 Hardware Software 5.3 Peopleware Data / Information 5.5 Procedure Data Communication 6. การนำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ 7. ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 8. การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์

3 องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกล่าวได้ว่าประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลักคือ 1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม

4 ความหมายของคอมพิวเตอร์
รากศัพท์เดิมของคำว่า คอมพิวเตอร์ (computer) มาจากภาษาละตินคือ computare ซึ่งหมายถึง การนับ การคำนวน และในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ ได้ให้ความหมายคอมพิวเตอร์ ไว้ว่า คำว่า คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทําหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สําหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์

5 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ มีการจัดเก็บหรือแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ การประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะทำงานแบบอัตโนมัติภายใต้คำสั่งที่ได้ถูกกำหนดไว้ ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์จะประมวลผลงานด้วยความเร็วสูง ต่างจากการประมวลผลงานในอดีตที่อาศัยแรงงานมนุษย์ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่ช้ากว่ามาก งานๆหนึ่งหากใช้แรงงานคนอาจเสียเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ในการคิดและประมวลผล แต่หากนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้อาจลดเวลาและให้ผลลัพธ์ได้เพียงไม่กี่นาที

6 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy ) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยำและมีความผิดพลาดน้อยที่สุด ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ จะมีความน่าเชื่อถือและสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆต่อไปได้ การจัดเก็บข้อมูล (Storage Capability) คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความธรรมดาหลายๆล้านตัวอักษร เพลง ภาพถ่าย วีดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลขนาดใหญ่จำนวนมาก

7 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ทำงานซ้ำๆได้ (Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถทำงานซ้ำๆกันได้หลายรอบ ช่วยลดปัญหาเรื่องความอ่อนล้าจากการทำงานของแรงงานคน นอกจากนั้นยังลดความผิดพลาดต่างๆได้ดีกว่าด้วย การติดต่อสื่อสาร (Communication) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงเข้าหากันเป็นเครือข่ายมากยิ่งขึ้น แต่เดิมอาจจะเป็นแค่เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลธรรมดา แต่ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปมาก เราสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าหากันเป็นเครือข่ายได้ ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายภายในองค์กร หรือระดับเครือข่ายใหญ่ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำให้การประมวลผลงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และไม่จำกัดยู่แค่พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งอีกต่อไป

8 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณขึ้นมาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ( Abacus) คอมพิวเตอร์มาจากแนวคิดของระบบตัวเลข ซึ่งพัฒนามาเป็นวิธีการคำนวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ช่วยในการคำนวณ คือ กระดานคำนวณ และลูกคิด

9 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ช่วยในการคำนวณขึ้นมาเรียกว่า Napier’s Bones เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายกับตารางสูตรคูณในปัจจุบัน

10 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ วิลเลียม ออตเทรต( William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคำนวณ (Slide Rule) ซึ่งต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก

11 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ เบลส์ ปาสคาล ( Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องบวกลบขึ้น โดยใช้หลัการหมุนของฟันเฟือง และการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุนไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด เครื่องมือของปาสคาล สามารถใช้ได้ดีในการคำนวณการบวกและลบ ส่วนการคูณและหารยังไม่ดีเท่าที่ควร

12 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz ) ) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ทำการปรับปรุงเครื่องคำนวณของปาสกาลให้สามารถคูณและหารได้ และยังค้นพบเลขฐานสอง (Binary Number) คือ เลข 0 และเลข 1 ซึ่งเป็นระบบเลขที่เหมาะในการคำนวณ แต่ตัวเครื่องคำนวณยังคงอาศัยการหมุนวงล้อของเครื่อง

13 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด ( Joseph Marie Jacquard) ชาวฝรั่งเศสพัฒนาเครื่องทอผ้าโดยใช้ บัตรเจาะรูในการบันทึกคำสั่ง ควบคุมเครื่องทอผ้าให้ทำตามแบบที่กำหนดไว้ และแบบดังกล่าวสามารถนำมา สร้างซ้ำๆ ได้อีกหลายครั้ง เครื่องทอผ้าเครื่องนี้ถือว่าเป็นเครื่องที่ทำงานตามโปรแกรมคำสั่งเป็นเครื่องแรก

14 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ.2365 ชารลส์ แบบเบจ ( Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์เครื่องมือที่เรียกว่าเครื่องหาผลต่าง ( Difference Engine) เพื่อใช้คำนวณและพิมพ์ค่าทางตรีโกณมิติ และฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และได้พยายามสร้างเครื่องคำนวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า Analytical Engine โดยมีแนวคิดให้แบ่งการทำงานของเครื่องออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนเก็บข้อมูล (Store unit), ส่วนควบคุม (Control unit) และส่วนคำนวณ (Arithmetic unit) ซึ่งแนวคิดนี้ได้รับการนำมาใช้เป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงยกย่องว่าชารลส์ แบบเบจ เป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์

15 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
แสดงภาพชารลส์ แบบเบจ และ เครื่องหาผลต่าง

16 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ สุภาพสตรีชาวอังกฤษชื่อ Lady Ada Augusta Lovelace ได้ทำการแปลเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Analytical Engine และได้เขียนขั้นตอนของคำสั่งวิธีใช้เครื่องนี้ให้ทำการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน จึงนับได้ว่า ออกุสต้า เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุดบัตรเจาะรูที่บรรจุชุดคำสั่งไว้สามารถนำกลับมาทำงานซ้ำใหม่ นั่นคือหลักการทำงานวนซ้ำ หรือที่เรียกว่า Loop

17 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ George Boole ได้สร้างระบบพีชคณิตแบบใหม่ เรียกว่า พีชคณิตบูลลีน (Boolean Algebra) ซึ่งมีประโยชน์มากต่อการออกแบบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และการออกแบบทางตรรกวิทยาของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันด้วย

18 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ คลิฟฟอร์ด แบรี่ (Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC ( Atanasoff-Berry) ขึ้น โดยได้นำหลอดสุญญากาศมาใช้งาน ABC ถือเป็นเครื่องคำนวณเครื่องแรกที่เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์

19 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ ศาสตราจารย์ Howard Aiken จาก Harvard University ได้พัฒนาเครื่องคำนวณตามแนวคิดของแบบเบจ ร่วมกับวิศวกรของบริษัท ไอบีเอ็มได้สำเร็จ โดยเครื่องจะทำงานแบบเครื่องจักรกลปนไฟฟ้าและใช้บัตรเจาะรู เครื่องมือนี้มีชื่อว่า MARK I หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า IBM Automatic Sequence Controlled Calculator และนับเป็นเครื่องคำนวณแบบอัตโนมัติเครื่องแรกของโลก

20 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ เป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ต้องการเครื่องคำนวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่องคำนวณสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชม.ต่อการยิง 1 ครั้ง ดังนั้น จึงให้ทุนอุดหนุนแก่ ดร.จอห์น ดับบลิว มอชลี่ (John W. MauchlyX และ จอห์น เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (John Persper Eckert) แห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมา มีชื่อว่า ENIAC (Electronic Numerical Intergrater and Calculator) สำเร็จในปี 2489 โดยนำหลอดสุญญากาศจำนวน 18,000 หลอด ซึ่งมีข้อดีคือ ทำให้เครื่องมีความเร็วและมีความถูกต้องแม่นยำในการคำนวณมากขึ้น

21 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เครื่อง ENIAC

22 ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พ.ศ Dr. John Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจำของเครื่องได้สำเร็จ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวคิดนี้ได้แก่ EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) ในเวลาเดียวกันมหาวิทยาลัย เคมบริดจ์ ก็ได้มีการสร้างคอมพิวเตอร์ในลักษณะคล้ายกับเครื่อง EDVAC นี้ และให้ชื่อว่า EDSAC (Electronic Delay Storage Automatic Calculator) แต่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างออกไปคือ ใช้เทปแม่เหล็กในการบันทึกข้อมูล ต่อมาศาสตราจารย์แอคเคิทและมอชลี ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์อีก ชื่อว่า UNIVAC I (Universal Automatic Calculator) ซึ่งผลิตขึ้นมาเพื่อขายหรือเช่า เป็นเครื่องแรกที่ออกสู่ตลาด

23 วิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์
จากประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์จะเห็นได้ว่าพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับความเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น ดังนั้นเราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์เป็นยุคต่างๆตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

24 ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง (พ.ศ ) หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง (พ.ศ ) ทรานซิสเตอร์ (Transistor) คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม (พ.ศ ) มีการพัฒนาวงจรไอซี (IC : Integrated Circuit) คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ (พ.ศ ) จากไอซี ได้มีการพัฒนาเป็น VLSI (Very Large Scale integration) คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า (พ.ศ ปัจจุบัน) พัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถทัดเทียมมนุษย์

25 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (First Generation Computer)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC, ENIAC, MARK I ลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เป็นอุปกรณ์หลักในการประมวลผล ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้กำลังไฟฟ้าสูง เกิดความร้อนสูง การป้อนข้อมูลและชุดคำสั่งให้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์อาศัยบัตรเจาะรู แต่ระยะหลังใช้แถบแม่เหล็ก ทำงานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language)

26 Mark I เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม

27 ENIAC เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก

28 EDVAC กับสถาปัตยกรรมฟอนนอยมานน์

29 UNIVAC เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในงานธุรกิจเครื่องแรกของโลก

30 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (Second Generation Computer)
ใช้อุปกรณ์ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนำ (Semi-conductor) แทนหลอดสุญญากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้าและเกิดความร้อนน้อยลง ความเร็วในการประมวลผลเพิ่มมากขึ้น มีการใช้ความจำแบบแถบแม่เหล็ก (Magnetic tape) และแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic disk) ในการเก็บบันทึกข้อมูล ภาษาที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลและคำสั่งในการทำงาน ได้แก่ภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)

31 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (Third Generation Computer)
ใช้วงจรรวม ( Integrated Circuit: IC) และวงจรสเกลขนาดใหญ่ ( Large Scale Integration :LSI ) เรียกว่าไอซี เป็นอุปกรณ์หลักในการทำงาน ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ใช้พลังงานไฟฟ้าและเกิดความร้อนน้อย มีความสามารถและความเร็วในการประมวลผลสูงขึ้น ใช้ความจำแบบแถบแม่เหล็ก (Magnetic tape) และแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic disk) ภาษาที่ใช้กำหนดข้อมูลและโปรแกรม ได้แก่ ภาษาระดับสูง (High Level Language) เครื่องรุ่นนี้ ได้แก่ IBM 360

32 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (Fourth Generation Computer)
ใช้อุปกรณ์วงจรรวมตัวใหม่ จากเทคโนโลยีการย่อรวมวงจรสเกลขนาดใหญ่มากขึ้น (Very Large Scale Integration : VLSI) เรียกว่า วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่มาก ทำให้การประมวลผลต่อคำสั่งเร็วขึ้น บริษัท Intel ได้ใช้เทคโนโลยี VLSI สร้างอุปกรณ์ประมวลผล (Processor) เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) รุ่น 4004 ขึ้นใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ได้มีการพัฒนาให้ใช้งานง่ายมากขึ้น มีการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง มี LAN, WAN Internet

33 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (Fifth Generation Computer) เน้นการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีความสามารถทัดเทียมมนุษย์ และให้คอมพิวเตอร์เป็นเรื่องง่ายสำหรับทุกคน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขึ้นใช้งาน การพัฒนาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เน้นการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆได้ด้วยเหตุผล และช่วยให้มนุษย์ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น เช่น พัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)

34 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) จัดเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เทียบได้กับคอมพิวเตอร์ทั่วไปเป็นพันๆ เครื่อง ความสามารถในการประมวลผลทำได้ถึงพันล้านคำสั่งต่อวินาที ใช้ในการประมวลผลข้อมูลที่มีจํานวนมาก และต้องการประมวลผลที่เร็วมาก เช่น ใช้ในการพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ ผู้ใช้สามารถเข้ามาใช้ข้อมูลหรือประมวลผลพร้อมกันผ่าน Terminal ได้เป็นพันๆเครื่อง มีราคาสูงมาก หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA)และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่มาก เป็นต้น

35 ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ ยี่ห้อ Cray

36 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
2. คอมพิวเตอร์เมนเฟรมหรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจำหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก นิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้จำนวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Uses) เช่น งานธนาคาร การจองตั๋วเครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษา บริษัทประกัน เป็นต้น

37 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เมนเฟรม

38 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง หรือเรียกว่า Mid – range Computer/Server เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานในด้านความเร็ว และความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) และสามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทำงานที่แตกต่างกัน ธุรกิจขนาดกลางและองค์กรหลายประเภท รวมทั้งสถาบันการศึกษานิยมนำมินิคอมพิวเตอร์มาใช้ในการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้า เช่น การจองห้องพักโรงแรม การทำงานด้านบัญชีขององค์การธุรกิจ เป็นต้น

39 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
มินิคอมพิวเตอร์

40 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กราคาถูก เหมาะในการใช้งานส่วนตัว ใช้ในสํานักงาน หรือองค์การขนาดเล็ก หรือตามบ้านพักทั่วไป เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Personal Computer หรือ PC (พีซี) นั่นเอง Microcomputer รุ่นแรกคือ IBM-PC โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยลอกเลียนสถาปัตยกรรมของ IBM เรียกว่า IBM-Compatibles ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัท Macintosh คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า Apple Computer

41 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์

42 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
5. คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา หรือคอมพิวเตอร์ขนาดมือถือ (Handheld Computer หรือ Personal Digital Assistants:PDA) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขนาดเล็กที่สามารถวางอยู่บนมือข้างเดียวได้ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่สามารถจัดการข้อมูลส่วนบุคคล จดบันทึก ปฏิทินนัดหมาย ตลอดจนการใช้งานอินเตอร์เนต ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งโปรแกรมสําเร็จรูป เช่น โปรแกรมตารางนัดหมาย และ โปรแกรมรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ มาพร้อมในตัว

43 องค์ประกอบในกระบวนการทำงาน
ของระบบคอมพิวเตอร์ ฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) บุคลากร (Peopleware) ขอมูลและสารสนเทศ (Data and Information) กระบวนการทํางาน (Procedure) การสื่อสารขอมูล (Data Communication)

44 องค์ประกอบในกระบวนการทำงาน
ของระบบคอมพิวเตอร์ 1. ฮารดแวร (Hardware) ฮารดแวร หมายถึง อุปกรณตางๆที่ทํางานประสานงานกันเพื่อใหเกิดการประมวลผล การจัดเก็บ และการเผยแพรขอมูลและสารสนเทศ ซึ่งหมายรวมถึงตัวคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง เป็นสิ่งที่มองเห็นและจับต้องได้ โดยมีทั้งที่ติดตั้งอยู่ภายในและภายนอกตัวเครื่อง 2. ซอฟตแวร (Software) ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ตามผลลัพธ์ที่ต้องการ ซอฟตแวรของระบบคอมพิวเตอรแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ซอฟตแวรระบบ (System Software) และ ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)

45 องค์ประกอบในกระบวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
3. บุคลากร (People) หมายถึงบุคคลที่เกี่ยวของกับระบบคอมพิวเตอรทั้งในสวนที่เปนฮารดแวร ซอฟตแวร และสารสนเทศ ซึ่งบุคคลเหลานี้เปนออกเปน 2 กลุมใหญ 1) ผูใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อปฏิบัติงาน (End Users) 2) ผูเชี่ยวชาญ (Professional) หมายรวมถึง โปรแกรมเมอร (Programmers) นักวิเคราะหและออกแบบระบบ ผูดูแลและจัดการระบบฐานขอมูล ผูดูแลและจัดการระบบเครือขายคอมพิวเตอร ผูควบคุมระบบคอมพิวเตอร ผูปอนขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอร และ นักโทรคมนาคม

46 องค์ประกอบในกระบวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
4. ขอมูลและสารสนเทศ (Data and Information) ในการทำงานต่างๆจะต้องมีข้อมูล(data)เกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานก็จะถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศ (Information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ การทำงานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่การนำเข้าข้อมูลผ่านการประมวลผลจนกลายเป็นสารสนเทศ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจจะเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น โดยความแตกต่างระหว่างข้อมูล และสารสนเทศ คือ ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจจริง แต่ สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน

47 องค์ประกอบในกระบวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
5. กระบวนการทํางาน (Procedure) กระบวนการทำงานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง กระบวนการหลักสําหรับการดําเนินงานเพื่อใหระบบคอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใช 6. การสื่อสารขอมูล (Data Communication) เปนอุปกรณที่ใชในการสงขอมูลสารสนเทศที่อยูในรูปดิจิตัล (Digital) ระหวางผูใชจากแหลงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่ง โดยมีอุปกรณประเภทตางๆ ทํางานรวมกันเพื่อใหสื่อสารกันได ตัวอยางของอุปกรณพื้นฐานที่ใชในการสื่อสารขอมูลเชน โมเด็ม(Modem) มัลติเพล็กเซอร (Multiplexer) และเราทเตอร (Router)

48 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
การศึกษา มีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เช่น การค้นหาข้อมูลข่าวสารความรู้ประกอบการเรียนการสอนจากอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ครู อาจารย์ยังใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งานประมวลคำและติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทำให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้น

49 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
3. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์ มาใช้ในส่วนของการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของโลก การส่งจรวดไปสู่อวกาศ 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ ในการออกแบบ หรือจำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทำงาน 5. งานราชการ มีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ กรมสรรพากร ใช้ในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น

50 ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮารดแวร หมายถึง อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่มองเห็นและจับต้องได้ โดยมีทั้งที่ติดตั้งอยู่ภายในและภายนอกตัวเครื่อง บางครั้งนิยมเรียกว่า device ซึ่งจะทำงานประสานกันตั้งแต่การป้อนข้อมูลเข้า (input) การประมวลผล (process) และการแสดงผลลัพธ์ (output) แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device) หนวยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)

51 ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
แสดงส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์

52 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการนำข้อมูลหรือชุดคำสั่งเข้ามายังระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลที่นิยมใช้กันทั่วไปมีดังนี้ แปนพิมพ (Keyboard) เปนอุปกรณหลักในการรับขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร

53 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
เมาส (Mouse) เปนอุปกรณที่ใชในการสั่งงานโดยการคลิกที่ปุมของ เมาส ซึ่งใชสั่งงานกับระบบปฏิบัติการและโปรแกรมที่มีรูปแบบการทํางานเป็นแบบ กราฟก Mouse Optical Mouse Wireless Mouse

54 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
Mechanical Mouse แบบลูกกลิ้ง มีลูกบอลอยู่ใต้เมาส์

55 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
Optical Mouse ใช้แสงในการค้นหาตำแหน่ง try google search

56 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
Cordless Mouse เมาส์ไร้สาย

57 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
Trackball (Upside down Mouse) เหมือนเมาส์ลูกกลิ้งที่หงายขึ้น ผู้ใช้จะใช้นิ้วหมุนลูกกลิ้งโดยตรงเพื่อเลื่อนตัวชี้บนจอภาพ

58 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
Touch Screen

59 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
เครื่องสแกนภาพ (Scanner) เปนอุปกรณสําหรับอานภาพถายหรือเอกสารเพื่อนําเขามาใชในเครื่องคอมพิวเตอร โดยจะทําการอานภาพ หรือเอกสารที่อยูในรูปของแผนกระดาษ และทําการบันทึกแฟมภาพ ประเภทตางๆ เชน GIF JPG เปนตน

60 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
โอซีอาร์ (OCR : Optical Character Reader) เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล โดยใช้วิธีการอ่านข้อมูลด้วยลำแสงในลักษณะพาดขวางบนเอกสารที่มีข้อมูลอยู่ แล้วแปลงรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โอซีอาร์ที่เราสามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Barcode reader)

61 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
โอเอ็มอาร์ (OMR : Optical Mark Reader) อุปกรณ์นำเข้าที่ทำงานโดยการอ่านข้อมูลจากการทำเครื่องหมายด้วยดินสอและปากกาลงบนกระดาษคำตอบ (Answer sheet) ซึ่งถูกออกแบบมาโดยเฉพาะ

62 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
เครื่องอ่านพิกัด (Digitizer) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูล มีลักษณะเป็นแผ่นกระดานสี่เหลี่ยม มีสายไฟฟ้าและอุปกรณ์คล้ายแว่นขยายที่มีเครื่องหมายกากบาทตรงกลาง พร้อมกับปุ่มสำหรับกด โดยปกติมักใช้ในการอ่านจุดพิกัดของแผนที่ หรือตำแหน่งของภาพกราฟิกต่างๆ

63 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการกำหนดตำแหน่งบนจอภาพรวมถึงการป้อนข้อมูลเข้าแทนแป้นพิมพ์ เอามาใช้เขียนหรือวาดตำแหน่งบนจอภาพคอมพิวเตอร์ประเภทที่ใช้หลอดภาพหรือ CRT เป็นอุปกรณ์ที่เหมาะสำหรับงานวาดภาพ

64 1. อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device)
จอยสติก (Joy Sticks) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมทิศทางของวัตถุบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะใช้ในการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ มีทั้งที่เป็นแบบแบน แบบคันโยก หรือ แบบพวงมาลัย อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง (Voice Input Devices) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลในรูปแบบเสียงโดยจะทำการแปลงสัญญาณเสียงเป็นสัญญาณดิจิทัลแล้วจึงส่งไปยังคอมพิวเตอร์

65 2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)
หนวยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU) เปนอุปกรณที่ใชในการประมวลผลขอมูลและคําสั่งตางๆ ไมวา จะเปนการคํานวณ การยายขอมูล การตัดสินใจ ซีพียูสวนใหญจะมีลักษณะเปนสี่เหลี่ยมแบน หรือที่เรียกวา ชิป (Chip) มีขนาดตางๆ กัน

66 2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)
หนวยความจําหลัก (Main Memory) เปนอุปกรณที่ใชในการเก็บขอมูลและคําสั่งเพื่อใชในการประมวลผล โดยจะทํางานรวมกับหนวยประมวลผล นิยมเรียกวาแรม (RAM) ลักษณะของแรมจะเปนแผงวงจรขนาดยาวพอประมาณ และภายในแผงวงจรจะประกอบดวยชิปจํานวนหลายตัว

67 2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)
แผงวงจรหลัก (Mainboard) เปนแผงควบคุมการทํางานของอุปกรณอื่นที่นํามาประกอบกันอยูในแผงวงจรหลักนี้ ภายในแผงวงจรหลักจะประกอบดวย ชองสําหรับใสซีพียู ชองสําหรับใสหนวยความจําหลัก ชองสําหรับใสแผนวงจรเพิ่มเติม เรียกวา สล็อต (Slot) และประกอบดวยอุปกรณอิเล็กทรอนิกเล็กๆ เรียกวา ชิปเซ็ต(Chipset) ที่ทําหนาที่ประสานงานระหวางอุปกรณตางๆ

68 2. อุปกรณ์ประมวลผล (Process Device)
ชิปเซต (Chip set) เป็นชิปจำนวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจรสำคัญๆ ที่ช่วยการทำงานของซีพียู ทำหน้าที่เป็นตัวกลางประสานงานและควบคุมการทำงานของหน่วยความจำ รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงท้งแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคำสั่งของซีพียู

69 3. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device)
หนวยความจํารองทําหนาที่ในการจัดเก็บขอมูลหรือคําสั่งไดเหมือนกับหนวยความจําหลักแมไมมีกระแสไฟฟามาเลี้ยง ขอแตกตางระหวาง หนวยความจํารองและหนวยความจําหลักคือ หนวยความจํารองสามารถจัดเก็บขอมูลหรือคําสั่งได แมปดเครื่องคอมพิวเตอร โดยทั่วไปหนวยความจํารองจะมีขนาดความจุที่มากกวาหนวยความจําหลักในราคาที่ใกลเคียงกัน

70 3. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device)
จานแมเหล็กชนิดแข็งสําหรับบันทึกขอมูล (Hard Disk) เปนอุปกรณสําหรับบันทึกขอมูล โปรแกรม ผลลัพธ โดยจะจัดเก็บอยูในรูปของแฟม ขอมูล เพื่อนําไวใชงานในครั้งถัดไปลักษณะของจานแมเหล็กชนิดนี้จะมีลักษณะเปนกลองสี่เหลี่ยม ซึ่งภายในจะประกอบไปดวยจานแมเหล็กตั้งแต 1 จานขึ้นไป

71 3. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device)
ฟลอปปีดิสก์ ( floppy disks) นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า ดิสก์เกตต์ ( diskettes) หรือดิสก์ ( disks) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่สามารถพกพาและเคลื่อนย้ายได้ปัจจุบันนิยมใช้ขนาด 3.5 นิ้ว แต่เดิมฟลอปปีดิสก์เรียกว่า ฟลอปปี ( floppies) เพราะดิสก์มีลักษณะที่บางและยืดหยุ่น แต่ปัจจุบันลักษณะของดิสก์ได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ เป็นดิสก์ที่หุ้มด้วยแผ่นพลาสติกแข็ง แต่เนื้อดิสก์ภายในยังคงอ่อนเหมือนเดิม จึงเรียกฟลอปปีเช่นเดิม

72 3. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device)
คอมแพคดิสก์ (compact disk หรือ CD) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ลักษณะหนึ่งที่สำคัญของ CD คือจะถูกอ่านด้วยเครื่องอ่าน CD (CD - Rom drive) ที่มีความเร็วที่แตกต่างกันออกไป ความเร็วในการอ่านซีดี จะเขียนอยู่ในรูปของตัวคูณ (x) เช่น เครื่องอ่านซีดี ขนาด 24x , 32x, 52x เป็นต้น สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ         CD - Rom (compact disk read - only memory) มีลักษณะคล้ายกับซีดีเพลง หรือ ซีดีที่ขายกันอยู่ทั่วไป คำว่า read – only หมายถึง อ่านได้เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลในแผ่นซีดีได้         CD - R (compact disk recorable ) เป็น ซีดีที่สามารถเขียน บันทึก หรือ write ข้อมูลได้ครั้งเดียว และสามารถอ่านข้อมูลได้หลายครั้งแต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่อยู่ในCD-Rได้         CD - RW (compact disk rewriteable หรือ erasable optical disk) ซีดีประเภทนี้คล้ายกับ CD - R ต่างกันที่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ คือ สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้หลายครั้ง

73 3. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device)
ดีวีดี (DVD; Digital Versatile Disc) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า

74 3. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device)
หน่วยความจำแบบเฟลช (Flash memory) เป็นหน่วยความจำประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม (Electrically Erasable Programnable Read Only Memory :EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นำข้อดีของรอม และแรม มารวมกัน ทำให้หน่วยความจำชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูล ได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา พกพาได้สะดวก

75 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
ทําหนาที่ตรงขามกับสวนรับขอมูล กลาวคือสงขอมูลที่เปนสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอรที่ประมวลผลแลว ไปแสดงผลใหผูใชเปน ตัวอักษร ภาพ หรือ เสียง อุปกรณฮารดแวรที่เปนหนวยแสดงผล เชนจอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ (Printer) ลําโพง (Speaker) เปนตน

76 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
จอภาพ (Monitor) เปนสวนประกอบที่ใชแสดงผลลัพธและเปนสวนที่ผูใชใชในการมองเห็นเพื่อใหสามารถติดตอสั่งงานกับเครื่องคอมพิวเตอรได ปจจุบันนี้จอภาพที่นิยมใชจะมีอยู 2 ประเภทคือ จอภาพชนิดหลอดภาพรังสี CRT (Cathod Ray Tube) และจอภาพแบบที่ใชหลอดภาพแอลซีดี (LCD Monitor)

77 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
อุปกรณควบคุมการแสดงผล (Display Controller Card) เปนอุปกรณที่ใชควบคุมการแสดงผลลัพธออกทางจอภาพ นิยมเรียกวา VGA Card มีลักษณะเปนแผนวงจรที่ตองใสลงในแผงจงจรหลัก คลายกับอุปกรณกําเนิดเสียงแตดานหลังจะมีชองสําหรับตอพวงกับจอภาพ ซึ่งแผงวงจรหลักบางรุนจะมีอุปกรณชนิดนี้ใหอยูแลวเรียกวา VGA On Board จึงไมตองซื้อมาใสเพิ่มเติม

78 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
เครื่องพิมพ (Printer) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับพิมพขอมูลหรือผลลัพธออกทางแผนกระดาษ ซึ่งมีอยู 3 ประเภทใหญๆ ไดแก เลเซอร(Laser) อิงคเจ็ท(Inkjet) และหัวเข็ม(Dot-Matrix)

79 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
พล็อตเตอร์ (Plotter) เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนกระดาษที่ทำมาเฉพาะงานเหมาะสำหรับงานเกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม และงานตกแต่งภายใน ใช้สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก

80 4. อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device)
ลําโพง (Speaker) เปนอุปกรณสําหรับแสดงผลลัพธในรูปของเสียง ซึ่งจะใชเชื่อมตอกับอุปกรณกําเนิดเสียงหรือ Sound Card อุปกรณกําเนิดเสียง (Sound Card) เปนอุปกรณที่ใชแสดงผลลัพธในรูปของเสียงหรือเรียกวา Sound Card มีลักษณะเปนแผนวงจรสําหรับใสลงในแผงวงจรหลัก ดานหลังแผนวงจรจะมีชองสําหรับเสียบลําโพงหรือหูฟง ซึ่งในแผงวงจรหลักบางรุนจะมีอุปกรณชนิดนี้ใหแลวเรียกวา Sound Card Onboard

81 อุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
เครื่องอานแผนดิสก (Floppy Drive) เครื่องอานหรือบันทึกขอมูลลงแผนซีดีหรือดีวีดี (CD/DVD Drive) CD-ROM สามารถอานแผนซีดีไดอยางเดียว CD-Writer สามารถอานและบันทึกขอมูลไดเฉพาะแผนซีดี DVD-ROM สามารถอานแผนซีดีและแผนดีวีดีได CD Combo สามารถอานและบันทึกขอมูลลงบนแผนซีดีได และสามารถอานแผน DVD ไดดวย DVD-Writer สามารถอานและเขียนไดทั้งแผนซีดีและแผนดีวีดี

82 อุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
แหลงจายไฟ (Power Supply) เปนอุปกรณที่ใชจายกระแสไฟฟาไปเลี้ยงแผงวงจรหลักและอุปกรณตอพวงอื่น จะทําหนาที่แปลงไฟฟากระแสสลับ(AC) เปนไฟฟากระแสตรง(DC) ตามความตองการของการใชงานของคอมพิวเตอร

83 อุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
อุปกรณสื่อสารขอมูลชนิดตอพวงภายใน (Internal Communication Device) เปนอุปกรณสําหรับสื่อสารขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับตอพวงภายใน อันไดแก โมเด็มการดเน็ตเวิรก หรืออุปกรณสื่อสารแบบไรสายแบบติดอยูกับแผงวงจรหลัก ซึ่งอุปกรณชนิดนี้จะมีลักษณะเปนแผนวงจรที่ใสลงในแผงวงจรหลัก แตดานหลังจะมีชองสําหรับเสียบสายสื่อสารประเภทตาง ๆ ในแผงวงจรหลักบางรุนจะมีอุปกรณชนิดนี้ใหอยูแลว ซึ่งจะมีชองเสียบสายสื่อสารอยูดานหลังของแผงวงจรหลัก

84 อุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
อุปกรณสื่อสารขอมูลสําหรับตอเชื่อมภายนอก (External Communication Device) เปนอุปกรณสําหรับสื่อสารขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับตอพวงภายนอกเชน โมเด็ม(Modem) , การดเครือขายแบบไรสาย(Wireless Card), ฮับหรือสวิทช เปนตน

85 อุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ตัวเครื่อง (Case) เปนกลองสี่เหลี่ยมที่ภายนอกจะมองเห็นเพียงแคชองสําหรับใสอุปกรณบางอยางเทานั้น สวนภายในจะประกอบดวยชองสําหรับใสแผงวงจรหลัก ชองสําหรับใสแผนวงจรอื่น ซึ่งตัวเครื่องอาจจะจัดวางอยูในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได เครื่องสํารองไฟฟา (UPS) เปนอุปกรณที่ใชตอพวงระหวางคอมพิวเตอรกับปลั๊ก ไฟฟา เพื่อเปนตัวจ่ายไฟฉุกเฉินในกรณีที่ไฟฟาเกิดดับกระทันหัน ทําใหมีเวลาสําหรับบันทึกขอมูลและปดเครื่องไดทันโดยไมเกิดความเสียหายกับอุปกรณและขอมูล

86 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ควรคำนึงถึง : 1. ความจำเป็นใช้งาน ? งานที่ทำจำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่ ? เนื่องจากคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์และล้าสมัยเร็ว หากพิจารณาแล้วว่าจำเป็นก็ควรซื้อ แต่ต้องเลือกซื้อเครื่องที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับงาน 2. ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อทำงานอะไร? ซึ่งต้องพิจารณาวัตถุประสงค์ในการใช้งาน เช่น นำมาใช้ในงานสำนักงาน นำมาใช้เพื่อความบันเทิง เป็นต้น 3. มีงบประมาณเท่าไร ? ที่จะสามารถจัดซื้อคอมพิวเตอร์ได้ตรงกับความต้องการและการใช้งานก็จะเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด

87 ตัวอย่างการดูรายละเอียดเพื่อเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างที่ 1

88 ตัวอย่างที่ 2

89 Question? ๐ๆคำถามAQ๐

90 Assignment หากนักศึกษาต้องการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับงานที่ตนเองใช้ ให้นักศึกษาแต่ละคนไปหา Spec ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) หรือ Notebook 1 เครื่อง บอกคุณสมบัติของ Spec เหล่านั้น CPU Hard disk RAM CD-ROM Drive Monitor Sound Card


ดาวน์โหลด ppt เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google