งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

องค์ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาบทบาทผู้จัดการรายกรณี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "องค์ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาบทบาทผู้จัดการรายกรณี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 องค์ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาบทบาทผู้จัดการรายกรณี
ผศ. ดร. นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์ FON KKU

2 การพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence Based practice
การเสริมพลังอำนาจ (empowerment) การจัดการตนเอง (self-management)

3 Evidence Based Nursing Practice
ความพยายามในการรวมหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ดีที่สุดเท่าที่มีอยู่ ( the best available evidence) จากงานวิจัยทางการพยาบาล วิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆ และ พัฒนาเป็นแนวทางในการปฏิบัติพยาบาลหรือใช้เพื่อเป็นฐานคิดในการตัดสินใจ

4 การเพิ่มคุณค่าพยาบาล
แบบจำลอง(Model) การเพิ่มคุณค่าพยาบาล Explicit knowledge ความรู้ ความสามารถ ในการ ปฏิบัติงาน Implicit knowledge นโยบายองค์กร พัฒนา ตนเองได้ต่อเนื่อง ความต้องการของ ผู้ป่วยและครอบครัว พยาบาลต้องบูรณาการความรู้จากแหล่งที่หลากหลาย

5 ไม่ใช้ฐานความรู้ในการปฏิบัติ
ถ้าพยาบาล ไม่ใช้ฐานความรู้ในการปฏิบัติ จะเกิดอะไร

6 1.บางครั้งเราทำในสิ่งที่ไม่ควรทำ
(The wrong things are done) 1.1 ทำสิ่งที่ไม่มีประโยชน์กับผู้ป่วย 1.2 ทำสิ่งที่เกิดความเสี่ยง 1.3 ทำสิ่งที่สิ้นเปลือง สมจิต หนุเจริญกุล, 2546

7 2.บางครั้งเราไม่ได้ทำในสิ่งที่ควรทำ
(The right things are not done) เช่นไม่ได้นำวิธีการดูแลที่ดีที่สุดมาใช้ใน การดูแลผู้ป่วยของเรา -ผู้ป่วยได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนทำให้เสียสิทธิ -ผู้ป่วยไม่ได้รับการประเมิน CVD EKG ตามเวลาที่เหมาะสม สมจิต หนุเจริญกุล, 2546

8 3.บางครั้งเรื่องดีๆที่เรานำมาปฏิบัติ แต่เรากลับปฏิบัติได้อย่างไม่ถูกต้อง (Things are not done properly) เช่นมี practice guideline ที่มีคุณภาพ แต่นำไปปฏิบัติไม่ถูกต้องหรือไม่ได้คำนึงถึงบริบทของการปฏิบัติงาน

9 ปัจจุบันในเรื่องของงานคุณภาพ
เราพูดถึงคุณภาพที่อยู่ในลักษณะ “Doing the right things right” ทำสิ่งที่ถูกให้ถูก -ต้องใช้ วิจารณญาณของพยาบาล -ต้องมีการตัดสินใจ -ต้องคิดและมองทุกอย่างจากความเป็นจริง -ต้องเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง

10 why do we need to use evidence efficiently?
PRESENTATION ONE 19/09/2018 why do we need to use evidence efficiently? 5,000? per day 2,000 per day 75 per day Articles Per Year so why do we need to use the evidence more efficiently today? Because there is an epidemic of evidence we need to keep up with and we cannot do this without new skills EBP: informing decisions with the best up-to-date evidence Introduction to Evidence-Based Practice

11 about 1/2 of ‘valid’ evidence today is out of date in 5 years
about 1/2 of valid evidence is not implemented ScienceCartoonsPlus.com

12 ข้อมูลความรู้ หรือหลักฐาน (evidence) ที่พยาบาลควรนำมาใช้เป็นฐาน
ในการปฏิบัติ คืออะไรบ้าง? Systematic reviews, meta analysis Randomised controlled trials (RCTs) Non-randomised controlled trials Case controlled trials Cohort studies Descriptive studies Qualitative studies Expert opinion Clinical Examples & Expert Opinion Systematic Reviews & Meta Analysis Non-Experimental Quasi-Experimental Randomized Controlled Trials อรพรรณ โตสิงห์ RN

13 ตัวอย่าง EBP Glycemic goals in adults
Lowering A1C to below or around 7% has been shown to reduce microvascular complications of diabetes and if implemented soon after the diagnosis of diabetes is associated with long-term reduction in macrovascular disease. Therefore, a reasonable A1C goal for many nonpregnant adults is <7%. (B)

14 ตัวอย่าง EBP Glycemic goals in adults
Providers might reasonably suggest more stringent A1C goals (such as <6.5%) for selected individual patients, if this can be achieved without significant hypoglycemia or other adverse effects of treatment. Appropriate patients might include those with short duration of diabetes, long life expectancy, and no significant CVD. (C) Less stringent A1C goals (such as <8%) may be appropriate for patients with a history of severe hypoglycemia, limited life expectancy, advanced microvascular or macrovascular complications, extensive comorbid conditions, and those with long-standing diabetes in whom the general goal is difficult to attain despite DSME, appropriate glucose monitoring, and effective doses of multiple glucose-lowering agents including insulin. (B)

15 Metformin, if not contraindicated and if tolerated, is the preferred initial pharmacological agent for type 2 diabetes. (A) Adults with diabetes should be advised to perform at least 150 min/week of moderate-intensity aerobic physical activity (50–70% of maximum heart rate), spread over at least 3 days/week with no more than two consecutive days without exercise. (A ) Standards of Medical Care in Diabetes—2013

16 เป้าหมายของ Evidence based practice
ปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล พัฒนาคุณภาพงานบริการ มุ่งให้เกิดผลลัพธ์การดูแล เป็นการปิดช่องว่างระหว่างการวิจัย และการปฏิบัติ ลดค่าใช้จ่าย

17 การจัดการตนเอง Self-management
Assist. Prof. Dr. Nonglak Methakanjanasak FON KKU

18 คำถาม : ทำอย่างไรพยาบาลจะสามารถ ส่งเสริมหรือสนับสนุน ให้ผู้รับบริการจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดี ที่มา : compliance, adherence, self-care, self-management

19 ที่มาของแนวคิด Self-management?
The first use is in mid 1970’s by Thomas Creer in asthma patient based on ideas : active participant in treatment : patient responsibility, patient can responsible for their health

20 Attributes of self-management
(Schilling et. al, 2001) Process Activities Goal

21 What is self-management ?
เป็นกระบวนการของการเรียนรู้ที่ประกอบด้วยกิจกรรมที่ผู้ป่วยต้องกระทำเพื่อรักษา และคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดี (promote optimal health) ป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพ (prevent illness & complications) จนเกิดเป็นทักษะที่สามารถนำมาใช้ในการดูแลสุขภาพได้ในสถานการณ์ต่างๆได้ แนวคิด : สอนให้ตกปลา ย่อมดีกว่า จับปลาและทำอาหารให้กิน Synonym : self-care management, self-care, adherence

22 คุณลักษณะของการจัดการตนเอง (Attributes of self-management)
Problem based มีพื้นฐานเพื่อการจัดการกับปัญหา Dynamic & ongoing มีการพัฒนา มีความเป็นพลวัตร Learning & Decision making process เป็นกระบวนการของการเรียนรู้และการตัดสินใจ Active & proactive involvement ผู้เรียนมีส่วนร่วมเชิงรุก Goal setting มีเป้าหมายที่ชัดเจน Collaborative (with health care providers) เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกันกับทีมสุขภาพ Holistic approach เป็นการพยาบาลแบบองค์รวม

23 Barriers to self-management
Internal and external: ie psychosocial Complexity of the condition(s) Health literacy/ Knowledge Emotional – depression and anxiety Financial Cultural Low self-efficacy for self-management tasks Health professional behavioural change skills Practice systems eg lack of a team approach Health system eg communication systems

24 Self-management process : (Boekaerts & Pintrich, 2000)
Goal selection เลือก, ตั้งเป้าหมาย Information collection การแสวงหาข้อมูล Information processing and evaluation การเลือกใช้ข้อมูล Decision making การตัดสินใจ Action การลงมือกระทำ Self-reaction( evaluation + reinforcement) การสะท้อนการปฏิบัติของตนเอง

25 Activities /Tasks (Methakanjanasak, 2005)
Self- monitoring Self- adjusting Information seeking Performing special tasks

26 Evidence for Self-Management
Warsi et al, 2004, Archives of Int Medicine Newman et al, 2004, Lancet Bayliss, et al, 2007, Chronic illness Effective self-management interventions in asthma and diabetes, equivocal in arthritis; Small to moderate effect sizes and maintenance of effect over time varies Generic lay led programs (Lorig et al); Newbould et al, Chronic Illness 2006, small to moderate effect sizes up to 12 months 26

27 Dimensions of self management องค์ประกอบของการจัดการตนเอง (Lorig, 2004)
Managing the illness Managing daily activities and roles Managing the emotional change

28 1. Managing the illness Medication management
Symptom management : hypo-hyper Life style management : diet, exercise Health care resources management : screening test, health- related information seeking

29 2. Managing daily activities and role
Managing role as spouse, parent, employment Managing their daily activities

30 3. Managing the emotional changes
Managing anger, fear, depression, anxiety Relaxation technique, here and now, Reflection

31 ทฤษฎีหรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการตนเอง (Skinner et al, 2003)
Self-regulation theory (illness representation) Dual Process theory (passive vs active role) Social Cognitive theory (Cognition-Social-Behavior) Self-determination Theory (Controlled vs autonomous motivation)

32 Self-Efficacy (สมรรถนะแห่งตน) Sources of Self-efficacy
เป็นส่วนหนึ่งที่พัฒนามาจาก Social Cognitive theory ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม และถูกยอมรับและใช้เป็นหลักใน การพัฒนากิจกรรมการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการตนเอง Sources of Self-efficacy Vicarious Experience การสังเกตประสบการณ์ของผู้อื่น Enactive attainment ประสบการณ์ความสำเร็จจากการปฏิบัติ Verbal Persuasion การพูดชักจูง Physiological state สภาวะทางร่างกาย

33 performing special tasks
ทักษะการจัดการตนเอง (self-management tasks or skills) (Methakanjanasak, 2005) self-monitoring information seeking performing special tasks self-adjustment

34 Self-monitoring : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะสุขภาพ
เป็นทักษะที่บุคคลต้องเรียนรู้ว่าถ้าจะดูแลสุขภาพ จะใช้อาการหรือสิ่งใดเป็นเป็นตัวบ่งบอกว่าตนเองเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ (Body listening) ทั้งนี้อาจต้องมีการ Recording ที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถติดตามข้อมูลและประเมินตนเองได้

35 Self-monitoring : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะสุขภาพ
จากอาการและการแสดงออกของร่างกาย (Physical cues) อาการ Hyper-Hypoglycemia, เป็นแผลหายยาก, น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น, การเกงคับ หรือ ผลทางห้องปฏิบัติการ FBS HA1c

36 Information Seeking: การเสาะแสวงหาข้อมูล
เป็นทักษะที่บุคคลจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นคนช่างคิด ช่างสังเกตและรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสมจะนำมาใช้ในการดูแลตนเอง เป็นการพัฒนาตนเองให้ใช้แหล่งสนับสนุนต่างๆ (Resources) ที่จะเป็นประโยชน์

37 Information Seeking: การเสาะแสวงหาข้อมูล
เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน อาจจะต้องสนใจใฝ่รู้ในเรื่องโรค การรักษาภาวะแ ทรกซ้อนต่างๆ เพราะสิ่งเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาของการเจ็บป่วย โดยเฉพาะข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงกับการควบคุมน้ำตาล

38 Information Seeking: การเสาะแสวงหาข้อมูล
ขนมปังโฮลวีท 1 แผ่น แคลอรี่ ขนมปังขาว 1 แผ่น 70 แคลอรี่ ขนมครก 1 คู่ แคลอรี่ ปาท่องโก๋ 1 ตัว แคลอรี่ ขนมเค้ก 1 ชิ้น แคลอรี่

39

40 Performiong special tasks: พัฒนาทักษะพิเศษที่เกี่ยวข้อง
เป็นการพัฒนาทักษะบางอย่างที่เฉพาะเจาะจง เพื่อให้การดูแลตนเองไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน อาจจะต้องเรียนรู้วิธีการฉีด insulin , การตัดเล็บ, การทำอาหารเบาหวาน

41 Self-adjusting การปรับเปลี่ยน
เป็นทักษะที่บุคคลจะต้องพัฒนาการคิดการตัดสินใจ (decision making) ในสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางภาวะสุขภาพ จนสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม หรือการปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับการควบคุมการดำเนินของโรค

42 Self-adjusting การปรับเปลี่ยน
เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน อาจต้องเรียนรู้การปรับ Dose Insulin ให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำตาลในกระแสเลือด, หรือปรับเปลี่ยนตนเองโดยการสร้างกลยุทธใหม่ในการดูแลตนเอง เช่น กินข้าวจานเล็กลง, ดื่มน้ำก่อนกินข้าว, กินผลไม้แทนขนมหวาน

43 Modified Plate Method

44 Diabetes Nutrition Study (DINES)
Nutrition Education Intervention materials

45 Chronic Care Model Improved Outcomes Community Health System
Resources and Policies Health Care Organization Clinical Information Systems Self- Management Support Delivery System Design Decision Support Prepared, Proactive Practice Team Informed, Activated Patient Productive Interactions Improved Outcomes

46

47 Training wheels to get started
America on the Move: Training wheels to get started

48 “Living Well with COPD” (Bourbeau, Nault, & Dang-Tan, 2004)
Module 1 : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรค COPD ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการไอและการหายใจ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสงวนพลังงาน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการออกกำลังกาย

49 “Living Well with COPD” (Bourbeau, Nault, & Dang-Tan, 2004)
Module 2 : การควบคุมอาการโดย Inhalation techniques Module 3 : การวางแผนเตรียมการเมื่ออาการกำเริบ

50 “Living Well with COPD” (Bourbeau, Nault, & Dang-Tan, 2004)
Module 4 : การปรับเปลี่ยนวิถีชิวิตให้เหมาะสม โภชนาการ การนอน การสูบบุหรี่ การจัดการความเครียด การจัดการสิ่งกระตุ้น การมีเพศสัมพันธ์

51 “Living Well with COPD” (Bourbeau, Nault, & Dang-Tan, 2004)
Module 5 : กิจกรรมยามว่าง& การท่องเที่ยว Module 6 : แผนการออกกำลังกายที่บ้าน Module 7 : การรักษาด้วยออกซิเจนที่บ้าน

52 ผลลัพธ์ของการจัดการตนเอง : ผู้รับบริการ
ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วย (Severity of illness) ลดภาวะแทรกซ้อน (Complications) อัตราการเข้ารับการรักษาลดลง (Re-admission rate) คุณภาพชีวิตดีขึ้น (Quality of life) เพิ่มความมั่นใจในการดูแลตนเอง (Sense of control) ระบบสุขภาพ ค่าใช้จ่ายทางสุขภาพลดลง

53

54 ความสำคัญของ Evidence based practice
การพัฒนาการพยาบาลให้มีคุณภาพสูงสุด คือภารกิจรับผิดชอบที่สำคัญของผู้ที่อยู่ในวิชาชีพทุกคน พรบ.วิชาชีพ 2540 มุ่งเน้นให้ผู้ใช้บริการได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลฯ มาตรฐานที่ 3 ว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลและผดุงครรภ์ กำหนดลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลฯ ไว้ว่า เป็นการปฏิบัติบนพื้นฐานของศาสตร์ทางการพยาบาล และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องที่ทันสมัย มีหลักฐานยืนยันได้

55

56 ขั้นตอน EBP “A Model for change to Evidence-Based Practice” ของ Rosswurm & Larrabee (1999) ขั้นตอนที่ 1 ประเมินปัญหาที่ต้องการแก้ไข ขั้นตอนที่ 2 กระบวนการเชื่อมโยงปัญหาที่ต้องการแก้ไข กับการพยาบาลและผลลัพธ์ของการแก้ไข ขั้นตอนที่ 3 การสังเคราะห์เพื่อให้ได้หลักฐานที่ดีที่สุด ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบแผนเพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 5 การนำไปใช้ และการประเมินการเปลี่ยนแปลง ขั้นตอนที่ 6 การผสมผสานเข้าสู่การปฏิบัติ และการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิบัติใหม่

57 การคัดเลือกประเด็นปัญหา
High Risk High Volume High Variation High Cost Problem prone Not satisfied

58 กำหนดกรอบการสืบค้น PICO (T) framework
P=population กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการพัฒนางาน I=intervention การพยาบาลที่ต้องการให้เกิด C=comparison intervention เปรียบเทียบการพยาบาล กับการพยาบาลรูปแบบอื่นๆ O=outcomes ผลลัพธ์ที่ต้องการศึกษา T= Time ระยะเวลาที่ต้องการศึกษา

59 ทำผังเพื่อบันทึกการสืบค้น
PubMed 54 4 CINAHL 75 5 Medline 15 1 รวม = 10

60 ตัวอย่างการสกัดงานวิจัย
Source Synopsis Implication Chang, et al 2002 Decrease activity and oxygen desaturation in prone ventilated preterm infants during the first postnatal week. Heart Lung, 31 : 34-42 เป็น งาน RCT ระดับ II การศึกษาเปรียบเทียบการจัดท่านอน preterm 28 คน อายุต่ำกว่า 7 วัน ที่ได้รับ mechanical ventilator โดยเปรียบเทียบระหว่างท่านอนคว่ำกับท่านอนหงาย ผลการศึกษาพบว่า ระหว่างการจัดท่านอนคว่ำ ระดับ oxygen ระดับ carbondioxide และการเกิดอาการแทรกซ้อนไม่ต่างกัน โดยพบว่าทั้งสองท่าทำให้ preterm มีค่าปกติของ oxygen และ carbondioxide แต่พบว่าขณะนอนคว่ำระดับของ oxygen สูงกว่า ท่านอนหงายเล็กน้อย ในผู้ป่วย preterm ที่ on mechanical ventilator สามารถเลือกจัดท่านอนได้ทั้ง 2 ท่า คือท่านอนหงายและท่านอนคว่ำ แต่ท่านอนคว่ำ จะมีระดับของ oxygen ดีที่สุด

61 จากงานวิจัยทั้ง 10 เรื่อง
ข้อเสนอแนะ ที่สรุป จากงานวิจัย งานวิจัยเรื่องที่ 1 งานวิจัยเรื่องที่ 2 งานวิจัยเรื่องที่ 3 งานวิจัยเรื่องที่ 4 งานวิจัยเรื่องที่ 5 งานวิจัยเรื่องที่ 6 งานวิจัยเรื่องที่ 7 งานวิจัยเรื่องที่ 8 บูรณาการเนื้อหา จากงานวิจัยทั้ง 10 เรื่อง ได้ข้อสรุปคือ นำมาเขียนเป็น CPG งานวิจัยเรื่องที่ 9 งานวิจัยเรื่องที่ 10

62 Any QUESTIONS Are welcome ?
PICO Question revised More in depth lit search

63 การเสริมสร้างพลังอำนาจ Empowerment
Assist. Prof. Dr. Nonglak Methakanjanasak FON KKU

64 ภาวะสูญเสียพลังอำนาจ
Starting point of the phenomenon powerlessness Powerful ภาวะไร้พลังอำนาจ ภาวะมีพลังอำนาจ ภาวะสูญเสียพลังอำนาจ

65 ภาวะไร้พลังอำนาจ /ภาวะสูญเสียพลังอำนาจ
พลังอำนาจ (power)  เป็นความรู้สึกหรือความปรารถนาของบุคคล ที่ต้องการควบคุมบุคคลหรือสถานการณ์ หรือสิ่งที่คาดหวังให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ ภาวะไร้พลังอำนาจ (powerlessness)  เป็นความรู้สึกหรือการรับรู้ว่าตนเองไม่สามารถควบคุมสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนได้ ไม่สามารถควบคุม คาดการณ์สิ่งต่างๆที่จะเกิดขึ้นกับตนได้ หรือเกิดความรู้สึกว่าถูกควบคุมโดยบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่น

66 ภาวะไร้พลังอำนาจ (Powerlessness)
การรับรู้ของบุคคลว่าไม่สามารถควบคุมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับชีวิต ไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ อยู่ในสภาพที่คล้อยตามหรือ จำเป็นต้องปฏิบัติตามแนวทางที่ผู้อื่นหยิบยื่นให้ บุคคลจะรู้สึกสูญเสียคุณค่าและความเป็นตัวของตัวเอง

67 สาเหตุของภาวะสูญเสียอำนาจ
ความเจ็บป่วย : ความเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อน สิ่งแวดล้อม: แสง เสียง สถานที่ บุคคล อุปกรณ์ ปัจจัยส่วนบุคคล : อายุ เพศ ศาสนา สถานภาพสมรส อาชีพ

68

69

70 พฤติกรรมของภาวะสูญเสียอำนาจและสาเหตุหรือสิ่งเร้า (Roy, 1984)
Behavior สาเหตุ/สิ่งเร้า Apathy Withdrawal Anxiety Restlessness Sleeplessness Wandering Lack of decision making Resignation Fatalism Low knowledge of illness Statement of low control Aimlessness Focal Illness Contextual Hospital setting Social displacement Gulf between person and staff Residual Personality Age Religion Occupation Education Income Rural back ground

71 ผลกระทบของภาวะสูญเสียอำนาจ
Loss of control (Physiological ,Psychological, Environment loss of control) Anxiety or Depression or Helplessness or Hopelessness Indicisiveness, Passive compliance Lack of motivation, Lack of autonomy

72 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเสริมสร้างพลังอำนาจ
1. Critical social theory 2. Organizational and management theory 3. Social psychological theory

73 การเสริมสร้างพลังอำนาจ
“เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคล กระบวนการปฏิสัมพันธ์ที่สร้างสรรค์ในการจัดหาแหล่งทรัพยากร อุปกรณ์ เครื่องมือ สิ่งแวดล้อมที่จะพัฒนา สร้างและเพิ่มความสามารถของบุคคลในการกำหนดและบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้” (Hawk, 1992)

74 การเสริมสร้างพลังอำนาจ Empowerment
“เป็นกระบวนการทางสังคม การแสดงถึงการยอมรับ และชื่นชม การส่งเสริม การพัฒนาและเสริมสร้าง ความสามารถของบุคคลในการตอบสนอง ความต้องการของตนเองและแก้ปัญหาด้วยตนเอง รวมถึงความสามารถในการใช้ทรัพยากรที่จำเป็นในการดำรงชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองและรู้สึกว่าตนเองมีอำนาจสามารถควบคุมความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของตนเองได้ ” Gibson, 1991

75 แหล่งพลังอำนาจ (Source of power)
ความเข้มแข็งของร่างกาย (physical strength and reserve) ความเข้มแข็งทางจิตใจ และการสนับสนุนทางสังคม (psychological and social support) อัตมโนทัศน์เชิงบวก (positive self concept) พลังงาน & เรี่ยวแรง (energy) ความรู้และการรู้และเข้าใจด้วยปัญญา (knowledge and insight) แรงจูงใจ (motivation) ระบบความเชื่อ (belief system)

76 ข้อตกลงในการเสริมสร้างอำนาจ
1. สุขภาพเป็นของบุคคลแต่ละคน 2. บุคคลต้องการยอมรับเป็นผู้ใหญ่และสามารถตัดสินด้วยตนเอง 3. บุคคลสามารถเสริมสร้างพลังอำนาจให้ตนเอง (ภายใต้คำชี้แนะ กระตุ้น ช่วยเหลือ) 4. การร่วมกันและกัน 5. เกิดพลังอำนาจจากการมีปฏิสัมพันธ์กันและกัน 6. ความไว้วางใจกัน

77 คุณลักษณะสำคัญของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
A helping (collective, dynamic, reciprocal) process A partnership which values self and others Mutual decision making using resources , opportunities, and authority Freedom to make choices and accept responsibilities Patient-centered relationship

78 ผลลัพธ์ของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
Self-autonomy, Self-advocacy Accountability, responsibility Decision making (set priority, make choices , freedom) Well-being, QOL Trust & Satisfaction

79 Empowerment Activities
Knowledge is power Expert is power Internal motivation is power Management is power Resource is power Educating Mentoring, Skill training Self-efficacy Motivation program, motivational interview Self-management Social support

80 Empowerment Activities
Educating Mentoring, Skill training Actualizing, training Motivation program, motivational interview Supporting, providing Self-help group Patient education Mentoring, Skill training Self-efficacy Motivation program, motivational interview Self-management Social support Discovery new perspectives Conciousness Raising Acquisition of objective knowledge Learning from others’ experiences

81 กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ (Gibson, 1995)

82 รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจในการพยาบาล
(An Empowerment Model for Nursing) (Client) Client-nurse interaction Nurses’ Role - Self-determination - Trust - Helper - Self-efficacy - Empathy - Support - Sense of control - Participatory decision making - Counsellor - Motivation - Mutual goal-setting - Educator - Self-development - Co-operation - Resource consultant - Learning - Collaboration - Resource mobilizer - Growth - Negotiation - Facilitator - Sense of mastery - Overcoming - Enabler - Sense of conncetedness organizational barriers - Advocate - Improved quality of life - Organizing - Better health - Lobbying - Sense of social justice - legitimacy (Gibson, 1991)

83 กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ : มี 4 ขั้นตอน (Gibson, 1995)
1. การค้นพบสภาพการจริง (Discovering reality) - การตอบสนองด้านอารมณ์ - การตอบสนองด้านการคิดรู้ - การตอบสนองด้านพฤติกรรม 2. การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3. การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสมและลงมือปฏิบัติ - การพิทักษ์สิทธิ์ - การเรียนรู้ในการแก้ปัญหา - การเรียนรู้ในการคงพฤติกรรม - การเจรจาต่อรอง - การสร้างความรู้สึกเป็นหุ้นส่วน 4. การคงไว้ซึ่งการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ

84 งานวิจัยทางการพยาบาล “การเสริมสร้างพลังอำนาจ”

85 กลุ่มกิจกรรมที่ช่วยให้เกิด Empowerment
The provision of competency-building activities The collaborative approach A flexible, individualized and strengthens focused approach The provision and development of supports

86 The provision of competency-building activities
Educative process Consciousness raising process The collaborative approach Participartory decision making Partnership in care

87 A flexible, individualized and strengthens focused approach
Strengths and weaknesses identification Needs and wishes assessment Opportunities and choices are discuss Non judgmental approach

88 The provision and development of supports
Utilization of resources Personal support Group support Community support Organizational support Tangible/Practical support Emotional support Information support Moral support Shared of valued experiences

89

90 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt องค์ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาบทบาทผู้จัดการรายกรณี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google