ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEmilie Juhl ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
วิวัฒนาการทางเทคโนโลยี ด้านกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์
มีนาคม 2555
2
วิวัฒนาการทางเทคโนโลยี ด้านกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์
แนวคิดเบื้องหลังเทคโนโลยี เส้นทางการพัฒนาของเทคโนโลยีหลัก การเปลี่ยนผ่านระบบโทรทัศน์จากขาวดำเป็นโทรทัศน์สี จากสัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอล เทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณ พัฒนาขบวนการผลิตรายการจากแบบ AV เป็น File Based การเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลและโทรทัศน์ความชัดเจนสูง
3
แนวคิดเบื้องหลังเทคโนโลยี
ต้องการกระจายข่าวสาร สาระบันเทิง แบบ One to Many โดยพัฒนาจากการสื่อสารแบบ One to One ครอบคลุมเขตบริการกว้างไกล โดยไม่มีข้อจำกัด ใช้คลื่นวิทยุเป็นตัวกลางนำพาข่าวสารแทนการใช้สาย ( Wireless แทน Wire) เลือกใช้แถบคลื่นให้เหมาะสมกับธรรมชาติและคุณสมบัติของข่าวสาร เช่น เสียงพูด เสียงเพลง เสียงดนตรี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เลือกใช้วิธีการส่ง การผสมสัญญาณคลื่นวิทยุให้เหมาะสมกับธรรมชาติและคุณสมบัติของข่าวสาร การรับส่งสัญญาณต้องมีคุณภาพที่เหมาะสม ปราศจากสัญญาณรบกวนจากธรรมชาติและสัญญาณรบกวนจากเครื่องมือ เครื่องใช้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
4
เส้นทางพัฒนาของเทคโนโลยีวิทยุกระจายเสียง
วิทยุกระจายเสียง ระบบ AM : Amplitude Modulation ให้บริการ 3 ย่านความถี่ LW : 148.5–283.5 kHz, ความกว้างช่องสัญญาณ 9 kHz MW : 526.5–1,606.5 kHz, ความกว้างช่องสัญญาณ 9 kHz (10KKz ในสหรัฐอเมริกา) SW : MHz แบ่งเป็น 14 ย่านความถี่ ความกว้างช่องสัญญาณ 5 kHz การกระจายคลื่นแตกต่างกันตามความถี่ LW คลื่นกระจายตามพื้นดิน (Ground wave ) MW คลื่นกระจายตามพื้นดินและคลื่นฟ้า (Ground wave & Sky wave ) SW คลื่นกระจายแบบคลื่นฟ้า ( Sky wave )
5
ข้อจำกัดของวิทยุกระจายเสียง ระบบ AM
คุณภาพเสียงไม่ดี เพราะถูกรบกวนจากธรรมชาติ เช่นการเปลี่ยนแปลงชั้นบรรยากาศ ฟ้าร้อง ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า และถูกรบกวนจากเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ง่าย เหมาะสำหรับส่งกระจายเสียงรายการข่าวสาร และTalk Show ไม่เหมาะต่อการเสนอรายการทั่วๆไปหรือรายการดนตรี เนื่องจากมีการตอบสนองเชิงความถี่ต่ำ 40Hz-5KHz เท่านั้น ข้อจำกัดด้านความถูกต้องชัดเจนของเสียงมาจากการออกแบบเครื่องรับวิทยุกระจายเสียง เพราะช่องสัญญาณคลื่นวิทยุกว้างเพียง 9KHz ในเขตเมืองใหญ่คลื่นวิทยุกระจายเสียง AM จะถูกขัดขวางและบั่นทอนจากสิ่งก่อสร้างที่เป็นโครงเหล็กขนาดใหญ่ จากอาคารสูง จากต้นกำเนิดคลื่นรบกวน สัญญาณรบกวนจากเครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าเรืองแสง (Fluorescent) จากข้อจำกัดดังกล่าว จึงมีการพัฒนาเทคโนโลยีการส่งวิทยุกระจายเสียงเป็นระบบ FM
6
FM Broadcasting FM Broadcast Band : VHF Band II
โดยทั่วไป เช่นในยุโรป ใช้ความถี่ย่าน MHz (Region 1) ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ความถี่ย่าน MHz (Region 2) ประเทศญี่ปุ่นใช้ความถี่ย่าน MHz ประเทศไทย ใช้ความถี่ย่าน MHz (Region 3) ขนาดของคลื่น FM คงที่ ความถี่ของคลื่นพาห์เปลี่ยนตามสัญญาณเสียง คุณภาพเสียงในการรับฟังจึงดีกว่า AM ความถี่ VHF มีสัญญาณรบกวนตามธรรมชาติและจากเครื่องใช้ไฟฟ้าน้อยกว่า MW&SW สามารถกระคลื่นได้ไกลเท่าระยะสุดสายตา หรือจนกว่าส่วนโค้งของโลกบดบัง FM ใช้กำลังส่งน้อยกว่า MW&SW เมื่อต้องการเขตบริการเท่ากัน เพราะ Antenna Gain สูงกว่า และสัญญาณไม่ต่างกันทั้งกลางวันและกลางคืน
7
แผนความถี่ FM โดยทั่วไป ยุโรป ญี่ปุ่น ช่องความถี่จะห่างกันเท่ากับผลทวีคูณของ 100KHz เช่น 88.1, 88.2, 88.3 MHz ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ผลทวีคูณของ 200KHz ที่เป็นเลขคี่ เช่น 88.1, 88.3, 88.5 MHz คำแนะนำของ ITU ในเขตบริการเดียวกันความถี่ควรห่างกัน 800KHz และห่างกัน 400KHz กับเขตบริการข้างเคียง (ITU-R BS.412-9) ความกว้างช่องสัญญาณ +/- 75KHz หรือกว้างไม่เกิน 200 KHz (ITU-R BS.450-3) ในเขตบริการเดียวกัน ไม่ควรจัดให้ f2 = f ถึง10.8 MHz ประเทศไทย ใช้ช่องความถี่จะห่างกัน 250KHz และห่าง 500KHz ใน กทม. 750KHz ในต่างจังหวัด และห่างกัน 250KHz กับเขตบริการข้างเคียง
8
เส้นทางการพัฒนากิจการโทรทัศน์
การเปลี่ยนโทรทัศน์ขาว-ดำ 525/60 เป็นระบบ 625/50 ในปี 2510 การพัฒนาเป็นโทรทัศน์สีแอนะล็อก NTSC / PAL / SECAM การขยายเครือข่ายโทรทัศน์ทั่วประเทศ ด้วยการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมระบบ แอนะล็อก โทรทัศน์ดิจิทัลผ่านดาวเทียม โทรทัศน์ดิจิทัลผ่านเคเบิ้ล IPTV และ Internet TV โทรทัศน์ดิจิทัลภาคพื้นดิน โทรทัศน์ความชัดเจนสูง gx
9
ย่านความถี่กิจการโทรทัศน์
กิจการโทรทัศน์ใช้ย่านความถี่ VHF และ UHF ได้แก่ VHF Band I : MHz VHF Band III : MHz UHF Band IV : MHz UHF Band V : MHz ขนาดความกว้างช่องสัญญาณ 6,7,8 MHz แตกต่างกันในแต่ละมาตรฐาน (ITU-R BT )
10
แผนความถี่โทรทัศน์แห่งชาติ
เมื่อมีการขยายเครือข่ายมากขึ้น การรบกวนก็เกิดขึ้น จึงได้จัดทำแผนความถี่โทรทัศน์ แผนความถี่โทรทัศน์ย่านความถี่สูงมาก (VHF) ของประเทศ ปี2528 ใช้ย่านความถี่สูงมาก VHF Band I ช่อง 2-4 และ VHF Band III ช่อง 5-12 จัดตั้งสถานีได้ 5 เครือข่ายในแต่ละเขตบริการ จำนวน 31 เขตบริการ รวม 151 ช่อง ผลการประกาศใช้แผนความถี่โทรทัศน์ฯปี 2528 สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 3 และไทยทีวีสี ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. สามารถขยายเครือข่าย 30 เขตบริการ รวม 60 สถานี ในปี 2534 สถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ขยายเครือข่าย รวม 30 สถานี ในปี 2539 ปี2531 กรมประชาสัมพันธ์ จัดตั้ง สถานีหลัก กทม. และขยายเครือข่าย รวม 31 สถานี ในปี 2539
11
แผนความถี่โทรทัศน์ของประเทศ พ.ศ.2539
โดยปรับปรุงแผนความถี่โทรทัศน์ย่านความถี่สูงมาก (VHF) ของประเทศ ปี2528และแผนความถี่โทรทัศน์ย่านความถี่สูงยิ่ง (UHF) ของประเทศ ปี2530 เพื่อขจัดปัญหาอุปสรรคและข้อจำกัดในการนำไปปฎิบัติ เพื่อให้ประชาชนรับชมโทรทัศน์ได้ 9 เครือข่าย จำนวน 108 เขตบริการ ระบบ VHF Band III ช่อง เครือข่าย (ยกเลิกการใช้ Band I ช่อง 2-4) ระบบ UHF ช่อง ( เว้นช่อง และ ช่อง ใช้ในกิจการสื่อสาร) 5 เครือข่าย ผลการประกาศใช้แผนความถี่โทรทัศน์ฯปี 2539 มีการจัดตั้งสถานีเสริมจุดบอดเพิ่มขึ้น มีการจัดตั้งสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ระบบ UHF เพิ่มอีกเครือข่าย ปัจจุบันคือ TPBS
12
จำนวนสถานีโทรทัศน์ ภาคพื้นดิน 6 เครือข่าย
ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 9 ช่อง11 TPBS Central 5 6 8 11 Northeastern 7 9 13 North 10 12 14 16 South VHF 26 31 30 33 32 UHF 3 18 52 Comm. UHF Ant. With TPBS 1 Total 40 37 36 50
13
Color TV Signal System CVBS PAL Encoder
14
Digital Component To preserve the original quality whatever the processing complexity Compatibility Between 625/50 and 525 /60 ITU-R BT :2:2 Digital Coding standard Y sampling Freq MHz CR (R-Y ) sampling Freq MHz CB (B-Y ) sampling Freq MHz Quantisation : 8 Bits Bits
15
Color picture : Y; Cr; Cb; 4:2:2
16
Serial Digital Interface ( SDI )
Uncompressed 4:2:2, 625/ bit coded Transfer Rate 270 Mb/s comprise 720 pixels x 576 active Lines Y signal 2x360 pixels x 576 active Lines Cr & CB signal 25 Frame/second 10 bit coding (720 x x 360 x 576)x 25 x 10 =207 Mb/s 207 Mb/s + audio + data = 270 Mb/s BT.601 Video format
17
การเข้ารหัสและการบีบอัดสัญญาณ
สัญญาณดิจิทัลวิดีโอ SDTV มีอัตราข้อมูล 270 Mbps ใหญ่เกินไปที่จะจัดการ ในกระบวนการผลิต การเก็บและการกระจายสัญญาณ จำเป็นต้องบีบอัดให้เล็กลงเหลือ Mbps สำหรับการผลิตรายการ และ 2-20 Mbps สำหรับส่งสัญญาณแพร่ภาพ การบีบอัดเป็นไปได้เพราะตาคนทั่วไป มีคุณสมบัติที่ทำให้การลดข้อมูลภาพลงได้ โดยยังคงคุณสมบัติภาพเดิมไว้
18
History of Compression
19
History of Compression
20
Audio Compression
21
Audio Coding-History
22
Evolution of MPEG Audio Format
Musicam MPEG-1 Layer I Layer II Layer III ISO /IEC MPEG-2 Layer I Layer II Layer III ISO /IEC AAC ISO /IEC MPEG-4 HVCX CELP Twin VQ Speech Coding Profile AAC LC HE AAC Scalable and Main Profile ISO /IEC 14496 Increase Decoder Complexity
23
Video & Audio Coding Standard Definition : SDTV 720 x 576 or 720 x 480
MPEG Mbps or H.264 / MPEG-4 AVC 2-3 Mbps High Definition : HDTV MPEG Mbps or H.264 / MPEG-4 AVC Mbps Audio Coding MPEG-1/2 Layer 2, MPEG-4 AAC, MPEG-4 HE-AAC v2 Digital Dolby E-AC Ch.
24
HDTV Scanning Format System 1 1280 x 720 P 50 Hz 16:9
System x 1080 I 25 Hz 16:9 System x 1080 P 25 Hz 16:9 System x 1080 P 50 Hz 16:9 Wide XGA x 768 P System 1-4 for Production System 1-2 for Distribution & Transmision
25
HDTV Services..Roll out considerations Summing up…
26
Why Digital Television ?
Digital is the future of broadcasting services, and is a real change in the broadcasting prospective. Noise free pictures Higher resolution images Widescreen / HDTV No Ghosting Spectrum Efficeincy, Multi-channel, Mobility, Reception in mobile Portable receivers Good indoor/Outdoor coverage
27
แนวโน้มเทคโนโลยีในกิจการวิทยุกระจายเสียง
Frequency Band Freq. Analog Service Digital LF KHz AM Radio DRM30 MF KHz HF MHz VHF Band II MHz FM Radio DRM+ HD Radio VHF Band III MHz DAB/DAB+ DVB-T2 Lite
28
เทคโนโลยีวิทยุกระจายเสียง ระบบดิจิทัล
29
Key Benafit of DRM ครอบคลุมเขตบริการได้กว้างกว่า ป้องกันการจางหายและการรบกวนได้ดีกว่า ใช้กำลังส่งน้อยกว่า 50% DRM30 คุณภาพเสียงดีกว่า เอ.เอ็ม ส่วน DRM+ คุณภาพเสียงระดับ CD ให้บริการส่งข้อความ ข่าวสาร และรูปภาพได้ ปรับจูนหาคลื่นได้ง่ายตามชื่อสถานี แทนการหาโดยความถี่ เมื่อออกนอกเขตบริการจะหาสถานีเองตามชื่อสถานี โดยอัตโนมัติ 1 คลื่น ส่งได้ 4 รายการพร้อมกัน ประหยัดความถี่ เป็นมาตราฐานสากล รับรองโดย ITU DRM30 : ITU –R BS 1514, DRM+ : ITU –R BS 1114, มีระบบเตือนภัยสาธารณะ EWS
30
Digital Television Broadcasting Standard
Different ways to receive Digital Television Satellite (DVB-S 1993) Cable (DVB-C 1995) Terrestrial (ATSC 1996 /DVB-T 1997) (ISDB-T 2003, DTMB 2007) (DVB-T2 2009) Mobile (Handheld) (1seg 2003) Mobile (Handheld / Satellite) (S-DMB 2005)
31
Digital TV Standard (2011) Digital TV USA Europe Japan Other
Satellite TV DVB-S DVB-S2 ISDB-S DVB-S Asia DVB-S2 Asia Cable TV DVB-C DVB-C2 ISDB-C Terrestrial ATSC DVB-T DVB-T2 ISDB-T DTMB จีน ฮ่องกง DVB-T2 Africa DVB-T2 Asean / NZ Mobile ATSC-M/H DVB-H 1-Seg T-DMB เกาหลี CMMB จีน Sat-Mobile DVB-SH S-DMB S-DMB เกาหลี CMMB จีน
32
What is DVB-T2 The latest Modulation and coding techniques give DVB-T2 an 50 % increase in efficiency over DVB-T LDPC & BCH for FEC same as DVB-S2 Larger OFDM FFT size 16k / 32k (more Bit rate) Classical GI 1/128,1/32 (wider SFN) Three main level of Interleaving, Bit, Time and Frequency Time slicing at physical layer : PLP (physical layer Pipes) Rotated Constellations Reduce Peak to Average Power
33
Available Mode in DVB-T & DVB-T2
FEC Conv. coding + Reed Solomon LDPC + BCH Mode QPSK,16QAM, 64QAM QPSK,16QAM,64QAM, 256QAM Guard Interval 1/4 1/8 1/16 1/32 1/4 19/256 1/8 19/128 1/16 1/32 1/128 FFT Size 2k 8k 1k 2k 4k 8k 16k 32k Scatter Pilot 8% of Total 1% 2% 4% 8% of Total Continual Pilot 0.26 % of Total 0.35 % of Total Capacity (Mbit/s) 24.12 ( 64QAM,GI1/32, 8k ) 40.2 ( 256 QAM,GI 1/128, 32k ) Capacity = DVB-T + 50%
34
จำนวนรายการที่เพิ่มขึ้น เมื่อเป็น DVB-T2
Modulation 64 QAM 256 QAM FFT Size 8K 32K Guard Interval 1/32 1/128 Code Rate 2/3 Carrier Mode Normal Extended Capacity Mbit/s 40.2 Mbit/s No of Programs MPEG-4 12 SD 3 HD 20 SD 5 HD จำนวนรายการเพิ่มขึ้น 50%
35
แผนแม่บท 5 ปี และแผนการใช้ความถี่ กสทช.
แผนแม่บทในการบริหารคลื่นความถี่เป็นหลักในการอนุญาต แผนแม่บทการจัดสรรความถี่ คลื่นความถี่สาธารณะ คลื่นความถี่ภาคธุรกิจ ระดับชาติ ระดับภาค หลายจังหวัด ระดับท้องถิ่น แผนแม่บทกิจการ โทรคมนาคม แผนแม่บท กิจการวิทยุ-โทรทัศน์ คลื่นความถี่ภาคประชาชน ไม่น้อยกว่า 20%
36
Roadmap การปรับเปลี่ยนโทรทัศน์เป็นระบบดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบการรับส่งสัญญาณ ฯ ในระบบดิจิทัล เริ่มการรับส่งสัญญาณโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภายใน ๔ ปี จำนวนครัวเรือนในเมืองใหญ่ที่สามารถรับสัญญาณฯ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ภายใน ๕ ปี
37
Digital Roadmap 16 ก.พ.2555
38
Digital Roadmap 2555-2559 กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV ช่วงที่ 1
ก.พ.55 - ธ.ค.56 กระบวนการออกใบอนุญาต Mobile TV มิ.ย.56 - มิ.ย. 57 กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV ช่วงที่ 2 มิ.ย. 57- ธ.ค.58 เริ่มกระบวนการ Analog Switch Off เริ่ม ม.ค.2558
39
Digital Roadmap 16 ก.พ.2555
40
Digital Roadmap เริ่มต้นแผนปรับเปลี่ยนสู่ระบบ ดิจิตอล ก.พ. 55 ออกใบอนุญาตฯโครงสร้างพื้นฐาน.โครงข่าย ส.ค.55 ออกใบอนุญาตฯ กิจการบริการสาธารณะ ธ.ค.55 ออกใบอนุญาตฯ กิจการทางธุกิจ ส.ค.56 ออกใบอนุญาตฯ กิจการบริการชุมชน ธ.ค.56
41
การปฏิบัติตามแผนของผู้ประกอบการ
ผู้ใช้คลื่นในปัจจุบันต้องแจ้งการใช้คลื่นความถี่ และความจำเป็นในการถือครองความถี่ ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จนถึงกำหนดคืนความถี่
42
ม.10 ใบอนุญาตประกอบกิจการฯ ที่ใช้คลื่นความถี่
ใบอนุญาตประกอบกิจการวิทยุ –โทรทัศน์ ที่ใช้คลื่นความถี่ มี 3 ประเภท กิจการบริการสาธารณะ มี 3 ประเภท กิจการบริการชุมชน กิจการทางธุรกิจ อย่างน้อยแบ่งเป็น 3 ประเภท ใบอนุญาตวิทยุกระจายเสียงมีอายุไม่เกิน 7 ปี ใบอนุญาตวิทยุโทรทัศน์มีอายุไม่เกิน 15 ปี
43
สรุปการอนุญาตประกอบกิจการฯ ที่ใช้คลื่นความถี่
ใบอนุญาต ผู้ขอรับ อนุญาต การอนุญาต การหารายได้ สัดส่วนรายการ 1.บริการสาธารณะ ประเภท 1 ส่งเสริมความรู้ การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม ฯ 1.กระทรวง ทบวงกรม องค์กร อิสสระ องค์กรส่วนท้องถิ่น ที่ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจที่มีหน้าที่ตามกฎหมาย ใช้คลื่น ที่จัดสรรสำหรับภาครัฐ โฆษณาไม่ได้ ยกเว้นโฆษณากิจการของัฐ ข่าวสารหรือสาธารณะประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ประเภท 2 เพื่อความมั่นคง 2.สมาคม มูลนิธิหรือนิติบุคคลอื่นที่ไม่แสวงหากำไรทางธุรกิจ เหมือนกัน หารายได้พอเพียง ไม่แสวงกำไร ประเภท 3 ส่งเสริมความเข้าใจ รัฐกับประชาชน ฯ 3.สถาบันอุดมศึกษา (กรมประชาสัมพันธ์ จัดอยู่ใน ประเภท 1 และประเภท 3) 2.บริการชุมชน สมาคม มูลนิธิหรือนิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ที่ไม่แสวงหากำไรทางธุรกิจ กลุ่มคนในท้องถิ่น ที่ไม่เป็นนิติบุคคลรวมตัวกัน ใช้คลื่น ที่จัดสรรสำหรับภาคประชาชน ( 20 %) หารายได้จากการโฆษณาไม่ได้ ข่าวสารหรือสาธารณะประโยชน์ ต่อชุมชนหรือท้องถิ่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
44
สรุปการอนุญาตประกอบกิจการฯ ที่ใช้คลื่นความถี่
ใบอนุญาต ผู้ขอรับ อนุญาต การอนุญาต การหารายได้ สัดส่วนรายการ 3.ประกอบกิจการทางธุรกิจ ต้องเป็นนิติบุคคล นำส่งเงินรายปีเข้ากองทุนไม่เกินร้อยละ2 ของรายได้ ก.ระดับชาติ รัฐวิสาหกิจหรือบริษัทที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประกอบกิจการวิทยุ-โทรทัศน์ ใช้คลื่นที่จัดสรรสำหรับเอกชน โฆษณา ได้ไม่เกิน 12นาทีครึ่ง เฉลี่ย 10นาที/ชั่วโมงบริการธุรกิจ เก็บค่าสมาชิก ฯ ข่าวสารหรือสาธารณะประโยชน์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ข.ระดับภูมิภาค ที่มีผู้ถือหุ้นหนึ่งในสามต้องมีภูมิลำเนาในเขตภูมิภาคหรือท้องถิ่นนั้น เหมือนกัน ค.ระดับท้องถิ่น เหมือนระดับภูมิภาค
45
ปัญหา / อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
แผนแม่บทจะต้องกำหนดคำจำกัดความและขอบเขตการให้บริการ การบริการระดับชาติ ....จะคิดตามขอบเขตการให้บริการครอบคลุมประชากร เช่น >96% การบริการภูมิภาค มีกี่ภูมิภาค 4 /6 /8 ภาค ที่ไหนบ้าง การบริการระดับท้องถิ่น มีกี่ท้องถิ่น 25 /30 /40 ท้องถิ่น ที่ไหนบ้าง จะคิดค่าใบอนุญาต อย่างไร ตามจำนวนประชากร / รายได้ประชาชาติ
46
ตัวอย่าง การแบ่ง การบริการระดับภูมิภาค ของ กปส. 8 ภูมิภาค
47
เขตบริการภูมิภาค 1 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ ขอนแก่น
นครราชสีมา ชัยภูมิ เลย อุดรธานี บึงกาฬ สกลนคร สปข. 1
48
เขตบริการภูมิภาค 2 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ อุบลราชธานี
สปข. 2 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ อุบลราชธานี มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์
49
เขตบริการภูมิภาค 3 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ เชียงใหม่
แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา น่าน แพร่ ลำปาง สปข. 3
50
เขตบริการภูมิภาค 4 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ
สุโขทัย / พิษณุโลก ตาก นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ สปข. 4
51
เขตบริการภูมิภาค 5 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ สุราษฎร์ธานี
สปข. 5 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ นครศรีธรรมราช
52
เขตบริการภูมิภาค 6 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ สงขลา ตรัง
สปข. 6 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ สงขลา ตรัง สตูล ยะลา นราธิวาส สุไหงปาดี เบตง ยะหริ่ง
53
เขตบริการภูมิภาค 7 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ ระยอง สระแก้ว
หนองใหญ่ โป่งน้ำร้อน สระแก้ว ตาพระยา ตราด สปข. 7
54
เขตบริการภูมิภาค 8 สถานึโทรทัศน์ท้องถิ่นตามแผนความถี่ ฯ
กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี ชัยบาดาล ประจวบคีรีขันธ์ หัวหิน ทับสะแก สปข. 8
55
จาก “แนวทางการจัดทำนโยบายการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโทรทัศน์ดิจิทัลของประเทศไทย” ก.ย.51 NECTEC
57
จาก “แนวทางการจัดทำนโยบายการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโทรทัศน์ดิจิทัลของประเทศไทย” ก.ย.51 NECTEC
58
ประเภทของใบอนุญาต ใบอนุญาตผู้ให้บริการช่องรายการ (Channel Provider หรือ Content Provider) ….มีหลายราย ใบอนุญาตผู้ให้บริการรวมส่งสัญญาณ (Multiplex Operator) ….มีเท่ากับจำนวน Multiplex (ไม่เกิน 5 ราย) ใบอนุญาตผู้ให้บริการโครงข่าย (Network Provider) …มีน้อย 1-3 ราย จาก “แนวทางการจัดทำนโยบายการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโทรทัศน์ดิจิทัลของประเทศไทย” ก.ย.51 NECTEC
59
ตัวอย่าง Value chain in UK
Arqiva Arqiva (NGW) Network Provider Multiplex Operator PSB1BBC PSB2 Digital3&4 PSB3 BBC COM4 SDN COM5Arqiva COM6Arqiva Program Provider ITV SC4 BBC BBC ITV Five SKY 8 จำนวนรายการ 5HD +67SD 11 5HD 18 15 15
60
การจัดช่องรายการ Mux1: ดิจิทัลทีวีอังกฤษ 1998
61
การทดลองส่งโทรทัศน์ดิจิทัล ระบบ DVB-T2 2012 เพื่อเตรียมความพร้อมรับสื่อใหม่
Network Network Provider & Multiplexer Mux Ch.3 Ch.5 Ch 7 Modern Nine NBT11, NBT Local TPBS TPBS - HD HD 2 6 SD 2-3 Mbps 2 8 Mbps กทม. เชียงใหม่ นครราชสีมา สงขลา
62
National Head End
63
Local Insertion & Transmitter Station
64
Baiyok 2 Analog & Digital Simulcast
Tx Ch 29 Analog Tx Ch 32 DVB-T2 Tx Ch 26 DVB-T2 Tx Ch 36 Combiner Existing Analog + 4 DVB-T DVB-T2 Tx Ch 40 Existing Tower & Antenna System New
65
ตัวอย่าง Value chain in Thailand : DSO
Network Network Provider Multiplex Operator @40Mbit/s Mux 1 (PBS) Mux 2 (Com) NBT11, NBT Local TPBS, Parliament, Ch.5, T-Sport ETV ชุมชน 20% Modern Nine Ch.3 Ch 7 JSL / RS GMM, Nation TV, ชุมชน 20% Program Provider จำนวนรายการ (6HD+16SD) Total 80 Mbit/s 3HD+8SD 3HD+8SD
66
การใช้ระบบสายอากาศ TV ร่วม Analog + Digital
Australia – Lookout Hill (Ballarat) UHF Channel Combiner System
67
การใช้ระบบสายอากาศ FM ร่วม เพื่อลดการรบกวน
Bahrain – MBC (cont’d) 10 channel FM combiner system (130 kW total power)
68
จำนวนรายการดิจิทัลทีวี ในประเทศไทย ?
บีบอัดสัญญาณภาพแบบ MPEG-4 AVC/H.264 ในระบบ DVB-T2 Mux Mbps SD HD HD+SD 1 40.2 20 5 2 HD+12 SD 2 80.4 40 10 4 HD+24 SD 3 120.6 60 15 6 HD+36 SD 4 160.8 80 8 HD+48 SD 201.0 100 25 10 HD+60 SD จำนวนรายการแบบโครงข่าย ทั่วประเทศ
69
Q&A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.