ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
ดร.กชพร ศิริโภคากิจ รองอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สิน และการคลัง มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2
2 หัวข้อแรก มน พูด 2 พัวข้อหลังพี่พูด
AGENDA 2 หัวข้อแรก มน พูด 2 พัวข้อหลังพี่พูด ความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างที่จำเป็นสำหรับนักบริหาร หลักการ แนวทางและกระบวนการในการบริหารการพัสดุและการจัดซื้อ จัดจ้าง เทคนิค และเครื่องมือการวิเคราะห์ความสำเร็จในการการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่สำคัญในการบริหารการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างตามแนวทางการจัดการแนวใหม่
3
เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เงินงบประมาณแผ่นดิน ข้อบังคับว่าด้วยเงินรายได้ ระเบียบมหาวิทยัลแม่โจ้ว่าการพัสดุเงิยรายได้ 2550 เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย
4
ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน
งบประมาณ พัสดุ บัญชี การเงิน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
5
กระบวนการ บริหารงานพัสดุ
งานประจำ กำหนดความต้องการ งานยุทธศาสตร์ งานพัฒนา) งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
6
การบริหารงานพัสดุประกอบด้วย การบริหารด้านบุคลากร
การเงิน/ งบประมาณ การบริหารด้านบุคลากร การบริหารด้าน การจัดซื้อ/จัดจ้าง
7
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรวิชา “การบริหารงานพัสดุสำหรับผู้บริหาร” บรรยายโดย คุณรวีวัลย์ แสงจันทร์ นิติกรชำนาญการพิเศษ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง โทร. ๐๒ ๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓ (สงวนลิขสิทธิ์)
8
การบริหารพัสดุ 1 การกำหนดความต้องการและการของบประมาณ
ความต้องการในลักษณะนโยบาย ความต้องการในลักษณะเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานปกติ การของบประมาณ 2 การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง จัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างของทุกโครงการ/งานที่ได้รับงบประมาณ จัดเตรียมประกาศจัดซื้อจัดจ้าง กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specification) กำหนดช่วงเวลาการส่งมอบพัสดุ สำหรับงานจ้างก่อสร้าง ต้องกำหนดราคากลางงานก่อสร้างด้วย 3 การจัดซื้อจัดจ้าง การประกาศจัดซื้อจัดจ้าง การยื่นเสนอราคา การพิจารณาผลการเสนอราคา การทำสัญญา 4 การบริหารสัญญา การบริหารสัญญา หมายถึง ผู้มีหน้าที่บริหารสัญญาซึ่งเป็นฝ่ายผู้ว่าจ้างต้องบริหารให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามสัญญา เช่น กรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญา จะต้องดำเนินการดังนี้ การคำนวณค่าปรับ การแก้ไขสัญญา การยกเลิกสัญญา เป็นต้น 5 การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ การควบคุม การควบคุมวัสดุ การทำรายการรับ การทำรายการเบิกจ่าย การควบคุมครุภัณฑ์ การทำทะเบียนครุภัณฑ์ของแต่ละรายการ การบำรุงรักษา เพื่อให้พัสดุมีความคงทนและมีคุณภาพที่ดีตลอดอายุการใช้งาน การจำหน่าย การบริหารพัสดุ *** ต้องปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุในทุกขั้นตอน หากละเว้น ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งก็อาจถือได้ว่าปฏิบัติไม่ถูกต้องตามระเบียบ*** ที่มา : สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
9
การจ้างออกแบบและควบคุมงาน
2.กระบวนการจัดหาพัสดุ การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การแลกเปลี่ยน
10
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
เมื่อได้รับความเห็นชอบให้เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการจัดหาตามวิธีต่างๆ หัวหน้าส่วนราชการ พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงาน ขอซื้อ/จ้าง ลงนามประกาศสอบราคา/ประกวดราคา ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่พัสดุ ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี ให้จัดทำรายงาน ขอซื้อ/จ้าง เพื่อขอความเห็นชอบ หส.ราชการก่อนทุกครั้ง
11
วิธีตกลงราคา(ไม่เกิน๑แสน)
จัดหาตามวิธีต่างๆ วิธีตกลงราคา(ไม่เกิน๑แสน) วิธีสอบราคา (เกิน๑แสน-๒ล้าน) วิธีประกวดราคา เกิน๒ล้านขึ้นไป วิธีพิเศษ (เกิน๑ แสนขึ้นไป) วิธีกรณีพิเศษ ไม่จำกัดวงเงิน
12
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
เบิกจ่ายเงิน ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ทำสัญญา/บันทึกข้อตกลง บริหารสัญญา ข้อตกลง ผู้มีอำนาจอนุมัติให้สั่งซื้อ/จ้างได้ตามที่คณะกรรมการเสนอ ได้ตัวผู้ขาย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทำบันทึกรายงานเสนอขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ)
13
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
การบำรุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยู่ในสภาพที่ดี สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยังหน่วยของผู้ใช้งาน ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สิน
14
แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
การจำหน่ายพัสดุ พัสดุใดหมดความจำเป็นใช้งาน สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ขาย/ทอดตลาด แลกเปลี่ยน โอน แปรสภาพ/ทำลาย การตรวจสอบพัสดุประจำปี ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี หส.ราชการ แต่งตั้งคกก. ที่มิไช่จนท.พัสดุตรวจ ให้เริ่มตรวจวันทำการแรกของเดือนตุลาคม/ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วันทำการ นับจากตรวจ หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชำรุด /สูญหายให้แต่งตั้งคกก.สอบข้อเท็จจริง
15
การบริหารงานพัสดุด้านบุคลากร
16
ผู้มีอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุมีได้ ๒ กรณี
อำนาจในการสั่งซื้อ/สั่งจ้าง อำนาจดำเนินการซื้อ/จ้าง หัวหน้าส่วนราชการ อธิการบดี
17
ผู้มีอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุ มีได้ ๒ กรณี
ดำเนินการซื้อ/จ้าง อธิการบดี หรือหัวหน้าส่วนราชการ จะมอบอำนาจต่อไปให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดอีกก็ได้ โดยให้คำนึงถึง ระดับตำแหน่ง /หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นสำคัญ ผู้ได้รับมอบอำนาจ มีหน้าที่ต้อง รับมอบอำนาจ จะมอบอำนาจนั้นต่อไปอีกไม่ได้ อนุมัติสั่งให้ซื้อ /สั่งจ้าง” เมื่อหาตัวผู้ขายหรือรับจ้างได้แล้วให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลชนะราคา ตามวงเงินดังนี้ วงเงินวิธีตกลงราคา/ สอบราคา/ประกวดราคา ได้แก่ หส.ราชการไม่เกิน ๕๐ล้าน ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐ ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน -รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน
18
การจัดหาพัสดุ จะต้องมีบุคลากร ให้ทำหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ระเบียบกำหนด
การจัดหาพัสดุ จะต้องมีบุคลากร ให้ทำหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ระเบียบกำหนด เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้างานพัสดุ คณะกรรมการ ต่าง ๆ ผู้ควบคุมงาน
19
ผู้มีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ
๑.เจ้าหน้าที่พัสดุ โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/ พ.ราชการ/พ.มหาวิทยาลัย ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว ๒.หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ ๓ คณะกรรมการต่าง ๆ การซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการให้ทำหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกำหนดทุกครั้ง โดยแต่งตั้ง ใช้กับกรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พัสดุหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดำเนินการเอง
20
การแต่งตั้งคณะกรรมการในการจัดหาพัสดุแต่ละวิธีตามที่ระเบียบกำหนด
วิธีสอบราคา - คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา วิธีประกวดราคา - คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา -คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ๓. วิธีพิเศษ - คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ -หรือ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ๔. ทุกวิธี – คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ใช้กับงานซื้อ/จ้างทำของ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ใช้กับงานจ้างก่อสร้าง (มติครม.๖ก.พ.๕๐)-และคณะกก.กำหนดราคากลาง ๕. จ้างที่ปรึกษา-คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง /คัดเลือก (ข้อ๗๙)
21
ข้อยกเว้น ไม่ต้องแต่งตั้งในรูปคณะกรรมกา
๑.การซื้อ/การจ้าง วงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท จะแต่งตั้ง ข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำ หรือ พ.ราชการ/ พ.มหาวิทยาลัย เพียงคนหนึ่งที่มิใช่ ผู้จัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างก็ได้ ๒. กรณีงานจัดทำเอง(ข้อ๑๕) -ให้แต่งตั้งผู้ควบคุม รับผิดชอบในการจัดทำเอง -และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการปฏิบัติงาน (เว้นแต่ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบอยู่แล้ว)
22
หลักเกณฑ์การแต่งตั้ง และการพ้นจากการเป็นกรรมการ ที่แต่งตั้งโดย ระบุชื่อบุคคล และ ตำแหน่ง หรือส่วนราชการ การแต่งตั้งกรรมการที่ต้องการ ความรับผิดชอบตามตำแหน่งที่ระบุไว้ ให้แต่งตั้งโดยระบุเพียงชื่อตำแหน่ง ไม่ต้องระบุชื่อตัวบุคคล ในกรณีนี้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้น ๆ อาจมอบหมายให้ผู้อื่นมาทำหน้าที่แทนได้ ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยการมอบอำนาจให้รักษาราชการแทน ตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน ๒. การแต่งตั้งกรรมการที่ต้องการความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ หรือความ เหมาะสม อันเป็นคุณสมบัติเฉพาะของ บุคคล ให้แต่งตั้งโดยระบุชื่อตัวบุคคล ไม่ต้องระบุตำแหน่ง หรือส่วนราชการต้นสังกัด มอบหมายให้ผู้ใดมาทำหน้าที่แทนไม่ได้ ๓.การแต่งตั้งกรรมการที่ต้องการคุณสมบัติเฉพาะของบุคคลและอำนาจหน้าที่ในตำแหน่งหน้าที่ ที่บุคคลดังกล่าวดำรงตำแหน่งอยู่ หรืออำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติหน้าที่อยู่ ให้แต่งตั้งโดยระบุชื่อตัวบุคคลและระบุตำแหน่งของบุคคลนั้น หรือระบุหน่วยงานที่บุคคลนั้นปฏิบัติหน้าที่อยู่ ซึ่งจะแต่งตั้งบุคคลอื่นให้มาประชุมแทนไม่ได้ และในกรณีที่บุคคลนั้นพ้นจากตำแหน่งดังกล่าว ให้เป็นที่เข้าใจว่า ต้องพ้นจากความเป็นกรรมการด้วย หรืออาจระบุการพ้นจากตำแหน่งไว้ด้วยก็ได้ ถ้าไม่ประสงค์เช่นนั้น ก็ไม่ควรออกคำสั่งในลักษณะนี้มาแต่แรก
23
การลงมติของคณะกรรมการ
วันลงมติ ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด การลงมติให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกหนึ่งเสียงชี้ขาด เว้นแต่ คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์ กรรมการคนใด ที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ -ให้ทำบันทึกความเห็นแย้งไว้ด้วย
24
วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง
25
การจัดหา โครงสร้างระเบียบ ว่าด้วย การพัสดุ 2535
การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ บทเฉพาะกาล การยืม การควบคุม การจำหน่าย การจัดหา ทั่วไป การซื้อการจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า สัญญาและหลักประกัน การลงโทษผู้ทิ้งงาน ความทั่วไป นิยาม การใช้บังคับและ การมอบอำนาจ บทลงโทษ กวพ. โครงสร้างระเบียบ ว่าด้วย การพัสดุ 2535
26
ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง
วิธีตกลงราคา 1. จนท.พัสดุ ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง รายงานผลการพิจารณา ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 2. หน.จนท.พัสดุ อนุมัติ แจ้งให้ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 3. จนท.พัสดุ
27
แจ้งผู้ขายผู้รับจ้าง
1. จนท.พัสดุ วิธีสอบราคา ประกาศเผยแพร่เอกสาร 2. จนท. รับซองใบเสนอราคา 3. หน.จนท.พัสดุ เก็บรักษาซอง ส่งมอบ 4. คกก.เปิดซองสอบราคา พิจารณาและรายงานผล ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 5. หน.ส่วนราชการ อนุมัติ แจ้งผู้ขายผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 6. จนท.พัสดุ
28
แจ้งผู้ขายผู้รับจ้าง
วิธีประกวดราคา 1. จนท.พัสดุ ประกาศเผยแพร่เอกสาร 2. คกก.รับซอง รับและเปิดซอง 3. คกก. พิจารณาผล พิจารณาและรายงานผล 4. หน.ส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รมว. ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง อนุมัติ แจ้งผู้ขายผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 5. จนท.พัสดุ
29
วิธีพิเศษ 1. คกก. ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง รายงานผลการพิจารณา
ไม่อนุมัติ 2. หน.ส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รมว. สั่งซื้อสั่งจ้าง อนุมัติ แจ้งให้ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 3.จนท.พัสดุ
30
ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง
วิธีกรณีพิเศษ 1. จนท.พัสดุ ติดต่อผู้ขาย/ผู้รับจ้าง รายงานผลการพิจารณา ไม่อนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง 2.หน.ส่วนราชการ อนุมัติ แจ้งให้ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง มาจัดทำสัญญา 3. จนท.พัสดุ
31
การจัดทำสัญญาและบริหารสัญญา
1. จนท.พัสดุ รวบรวมเอกสาร แก้ไข งด ลดค่าปรับ ขยายสัญญา บอกเลิกสัญญา 2.หน.ส่วนราชการ จัดทำสัญญา 3. ผู้ตรวจรับ /คณะกรรมการ ตรวจรับ การบริหารสัญญา คืนแก้ไข ให้ถูกต้อง 4. จนท.การเงิน เบิกจ่ายเงิน ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
32
ข้อสังเกต เกี่ยวกับวิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง
33
ข้อห้ามแบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง
การแบ่งซื้อ หรือแบ่งจ้าง หมายความถึง การซื้อ/การจ้าง ที่มีลักษณะพัสดุประเภทเดียวกันมีความต้องการในการใช้พัสดุในระยะเวลาเดียวกัน ข้อห้ามแบ่งซื้อ หรือ แบ่งจ้าง/ให้พิจารณาขณะดำเนินการ หากมีเจตนา ที่จะลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจะจ้างในครั้งเดียวกันให้ต่ำลงเพื่อเปลี่ยนแปลง วิธีจัดหา ให้ลดลง หรือให้ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง เปลี่ยนแปลงไป
34
ข้อสังเกต วิธีสอบราคา
ข้อสังเกต วิธีสอบราคา -- -ไม่มีการขายเอกสารสอบราคา-และไม่มีการวางหลักประกันซอง -ให้แจกจ่าย/หรือให้เอกสารได้ ตั้งแต่วันที่ลงประกาศสอบราคา -กำหนดวันยื่นซอง ถึงวันปิดรับซองต้องไม่น้อยกว่า ๑๐วัน -จะกำหนดให้ยื่นซองสอบราคาทางไปรษณีย์ก็ได้ -ผู้รับซองได้แก่จนท.งานสารบรรณ/หรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้รับซองโดยเฉพาะ -เมื่อรับซองแล้วให้ส่งให้หัวหน้าจนท.พัสดุ เก็บรักษาไว้ -เมื่อปิดรับซองให้หน.จนทพัสดุทำบันทึกส่งคกก.เปิดซองสอบราคา -หากมีผู้เสนอราคามีคุณสมบัติถูกต้องรายเดียว -ให้ตรวจสอบคุณภาพของสิ่งของ/ว่า มีคุณภาพ/คุณสมบัติและ เป็นประโยชน์ต่อราชการหรือไม่ -หากเห็นว่าสมควรซื้อ/จ้างจากรายเดียวนั้นก็ให้ดำเนินการต่อไป ได้ โดยไม่ต้องยกเลิกการสอบราคา คือ
35
เรื่องการต่อรองราคาตามข้อ ๔๓
ข้อควรรู้ เรื่องการต่อรองราคาตามข้อ ๔๓ ในหลักการ/คณะกรรมการเปิดซองสอบราคาจะดำเนินการต่อรองราคากับผู้เสนอราคารายต่ำสุด แต่ราคาที่เสนอสูงกว่าวงเงินงบประมาณ เกินร้อยละ ๑๐ ตามลำดับในข้อ ๔๓(๑)-(๓) แต่ถ้าถึงกรณีใน(๓) ต่อรองแล้วไม่ได้ผล การเสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการว่าสมควรจะ ลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องานหรือขอเงินเพิ่ม/หรือยกเลิกเพื่อสอบราคา/ประกวดราคาใหม่/ หากเสนอลดรายการ-จำนวน-เนื้องานลง เป็นผลให้ราคารวมของผู้เสนอราคาต่ำสุดเปลี่ยนแปลงไปจากบริษัทก เป็น ข. ย่อมเสนอลดรายการไม่ได้ เพราะเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกัน
36
ข้อควรระวัง การซื้อ หรือการจ้างเพิ่ม(Repeat Orderตามข้อ ๒๓ (๔) หรือ ข้อ๒๔(๕) มีเงื่อนไขดังนี้ ต้องเป็นเรื่องซื้อของอย่างเดิม หรือเป็นงานเดิม ที่ต้องทำเพิ่มขึ้น ถ้าเป็นคนละเนื้องานมิใช่ Repeat Order ต้องเจรจาต่อรองกับรายเดิม เงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า และสัญญาเดิมต้องยังไม่สิ้นสุดเวลาส่งมอบ ต้องทำสัญญากันใหม่ จะทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมไม่ได้ เนื่องจาก เป็นเพียงการผ่อนปรนให้หน่วยงานไม่ต้องจัดซื้อจัดจ้างใหม่เท่านั้น
37
การทำสัญญา การบริหารสัญญา และ หลักประกันสัญญา
การทำสัญญา การบริหารสัญญา และ หลักประกันสัญญา
38
หลักการทำสัญญาตามระเบียบฯ มี ๓ แบบ
หลักการทำสัญญาตามระเบียบฯ มี ๓ แบบ ทำตามตัวอย่าง(แบบ)ที่ กวพ. กำหนด (ข้อ๑๓๒) ทำข้อตกลง เป็นหนังสือ ไว้ต่อกัน (ข้อ ๑๓๓) ไม่ทำเป็นหนังสือไว้ต่อกัน ก็ได้ (ข้อ ๑๓๓ วรรคท้าย) สัญญาที่มีข้อความแตกต่างไปจากแบบที่กวพ.กำหนด ให้ส่งให้สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน ผู้มีอำนาจลงนามสัญญา/ข้อตกลง ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจให้ลงนามแทน
39
กรณีทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกัน (ข้อ ๑๓๓)
หลัก -เป็นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ จะทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกัน โดยไม่ต้องทำ สัญญาตามแบบในข้อ ๑๓๒ ก็ได้ ในกรณีดังนี้ ซื้อ/จ้าง/แลกเปลี่ยนโดยวิธีตกลงราคา /การจ้างปรึกษา คู่สัญญา ส่งของได้ครบถ้วน ภายใน ๕ วันทำการ นับจากทำข้อตกลง การซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ ๒๓หรือ ๒๔ (๑)-(๕) การเช่า ที่ไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า
40
กรณีที่ไม่ต้องทำข้อตกลงเป็นหนังสือ ไว้ต่อกันก็ได้ (ระเบียบข้อ ๑๓๓ วรรคท้าย)
ได้แก่ (๑)การจัดหาซึ่งมีราคาไม่เกิน ๑ หมื่นบาท หรือ (๒) การซื้อ/จ้าง ซึ่งใช้วิธีดำเนินการตาม ระเบียบข้อ ๓๙ วรรคสอง (ได้แก่ วิธีตกลงราคา กรณีจำเป็นเร่งด่วน ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และ ไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน)
41
กรณีมีปัญหา ให้หารือสำนักงบประมาณ
การทำสัญญาจ้างก่อสร้างทุกประเภท ต้องมีเงื่อนไขให้มีการปรับราคาได้(ค่าK) มติคณะรัฐมนตรี หนังสือของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่นร ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒กำหนดให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพก่อสร้าง โดยให้ทุกส่วนราชการมีข้อกำหนดในประกาศสอบราคา ประกวดราคา ไว้ด้วยว่าจะทำสัญญาแบบปรับราคาได้ และในขั้นตอนทำสัญญาต้องการทำสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK) กรณีมีปัญหา ให้หารือสำนักงบประมาณ
42
ผลของสัญญา ยกเว้น หลักการ
สัญญามีผลนับตั้งแต่วันที่คู่สัญญาได้ลงนาม ในสัญญา ยกเว้น คู่สัญญามีข้อตกลงกำหนดเงื่อนไขกันไว้ใน สัญญาเป็นอย่างอื่น
43
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๓๕๑
ระเบียบฯ พัสดุ อนุมัติเป็นหลักการ ให้สัญญาเช่า หรือสัญญาจ้าง มีผลย้อนหลัง ? หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ ว ๓๕๑ ลงวันที่ ๙ กันยายน๒๕๔๘ อนุมัติยกเว้นเฉพาะสัญญาเช่า หรือสัญญาจ้างที่จำเป็นต้องเช่า/จ้างต่อเนื่องไปในปีงปม.ใหม่ ภายหลังจากสัญญาเดิมสิ้นสุดลง แต่ส่วนราชการไม่สามารถลงนามสัญญาได้ทันภายในวันที่ ๑ ตุลาคม เนื่องจาก ๑. พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ยังไม่มีผลใช้บังคับ หรือ ๒. ยังไม่ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดจากสำนักงบประมาณ
44
ระเบียบฯ พัสดุ อนุมัติเป็นหลักการ ให้สัญญาเช่าหรือสัญญาจ้าง มีผลย้อนหลัง ได้ (ต่อ)
ผล ให้สัญญามีผลย้อนหลังได้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม อันเป็นวันเริ่มต้นปีงบประมาณ หรือวันที่มีการเช่าหรือจ้างจริง โดยมีเงื่อนไขว่า:- ๑.) ส่วนราชการได้ดำเนินการจัดหาไว้แล้วก่อนสิ้นปีงบประมาณ และรู้ตัวผู้ให้เช่า หรือผู้รับจ้างที่จะลงนามเป็นคู่สัญญา แล้ว ไม่ว่าจะเป็นรายเดิม หรือรายใหม่ ก็ตาม ๒.)ผู้มีอำนาจอนุมัติ ได้อนุมัติให้เช่า หรือจ้างจากรายที่ได้จัดหา ไว้แล้วก่อนสิ้นปีงบประมาณ เพียงแต่อยู่ในขั้นตอนไม่อาจ ลงนามในสัญญาได้ทันในวันที่ ๑ ตุลาคม เท่านั้น
45
ระเบียบข้อ๑๓๕ สัญญา/ข้อตกลง มูลค่า ๑ ล้านขึ้นไป. ส่งสำเนาให้สตง
ระเบียบข้อ๑๓๕ สัญญา/ข้อตกลง มูลค่า ๑ ล้านขึ้นไป ส่งสำเนาให้สตง.และกรมสรรพากรด้วย สัญญา หรือข้อตกลงเป็นหนังสือที่มีมูลค่าตั้งแต่ ๑ ล้านบาทขึ้นไป ให้ส่งสำเนา ให้สตง. หรือสตง.ภูมิภาค และกรมสรรพากรภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันทำสัญญา หรือ ข้อตกลง
46
การบริหารสัญญา
47
ผู้มีหน้าที่บริหารสัญญา
เจ้าหน้าที่พัสดุ/ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง เมื่อสัญญาครบกำหนด จะต้องแจ้งให้ผู้ขายหรือรับจ้างส่งมอบงาน ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดังกล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วนราชการให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี “””หากมิได้ดำเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดำเนินการตามหน้าที่
48
การแก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา
สัญญาที่ลงนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลี่ยนแปลง กรณีจำเป็นต้องแก้ไข เป็นอำนาจหัวหน้าส่วนราชการพิจารณา การแก้ไขจะต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ราชการ หรือไม่ทำให้ทางราชการเสียประโยชน์ ระยะเวลาที่จะแก้ไข :- “จะแก้ไขเมื่อไดก็ได้ แต่ต้องก่อนการตรวจรับงวดสุดท้าย” การแก้ไขสัญญา ถ้าจำเป็นต้อง:- -เพิ่ม /ลดวงเงิน /ขยายเวลาการส่งมอบ/ ก็ให้ตกลงไปพร้อมกัน กรณีงานเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง/งานเทคนิคเฉพาะอย่าง ต้องได้รับการรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯ ที่รับผิดชอบ ก่อนการแก้ไข
49
ผู้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด ลดค่าปรับ/ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง แล้วแต่กรณีเป็นผู้เสนอความเห็นในแต่ละครั้งด้วย
50
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ๑๓๙)
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ๑๓๙) ให้พิจารณาได้เฉพาะเหตุดังต่อไปนี้ (๑) เหตุเกิดจากความผิด/ความบกพร่องของส่วนราชการ (๒) เหตุสุดวิสัย (๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด เงื่อนไข คู่สัญญาของทางราชการจะต้องมีหนังสือแจ้งเหตุ ที่เกิดขึ้นตาม ข้อ ๑๓๙ (๒)หรือ(๓) ให้ทราบ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่เหตุนั้นสิ้นสุดลง นับแต่เหตุสิ้นสุด ให้พิจารณาให้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง อำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ
51
คู่สัญญาส่งมอบหลังจากผิดสัญญาแล้ว ต้องแจ้งสงวนสิทธิ์การปรับ
คู่สัญญาส่งมอบหลังจากผิดสัญญาแล้ว ต้องแจ้งสงวนสิทธิ์การปรับ เมื่อคู่สัญญาส่งมอบพัสดุตาม สัญญา ภายหลังผิดสัญญาแล้ว โดยส่วนราชการมิได้บอกเลิก สัญญา ต้องแจ้งสงวนสิทธิ์ การปรับไว้ ด้วย ให้คิดค่าปรับนับถัดจากวัน ครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง การปรับต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในสัญญา เช่น -สัญญาซื้อขายเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด -สิ่งของที่ซื้อรวมติดตั้ง/ทดลอง/ให้ปรับตามราคาของทั้งหมด
52
ความรู้เกี่ยวกับหลักประกัน -ซองเสนอราคา -หลักประกันสัญญา
ความรู้เกี่ยวกับหลักประกัน -ซองเสนอราคา -หลักประกันสัญญา
53
หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา
หลักประกันที่ผู้เข้าเสนอราคายอมผูกพันตนที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขในประกาศประกวดราคา และจะไม่ถอนการเสนอราคาจนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น หลักประกันซอง จึงต้องมีระยะเวลาตั้งแต่วันยื่นซองเสนอราคาจนถึงวันสิ้นสุดการยืนราคา หรือ จนกว่าการพิจารณาจะเสร็จสิ้น หลักประกันสัญญา หลักประกันที่ผู้ผ่านการคัดเลือกให้เข้าทำสัญญากับทางราชการ นำมาเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญา ส่วนราชการจะคืนให้เมื่อพ้นข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว
54
เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย หนังสือค้ำประกันธนาคารภายใน ประเทศ
หลักประกันซอง และ หลักประกันสัญญา กำหนดให้ผู้เสนอราคาในวิธีประกวดราคา หรือคู่สัญญาต้อง นำหลักประกันมาวาง เงินสด เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย หนังสือค้ำประกันธนาคารภายใน ประเทศ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ตามรายชื่อที่ธปท.แจ้งเวียนชื่อ พันธบัตรรัฐบาล
55
มูลค่าหลักประกันสัญญา
อัตราจำนวนเต็ม ๕% ของวงเงินที่ทำสัญญา เว้นแต่ การจัดหาที่สำคัญพิเศษ กำหนดสูงกว่าได้ ไม่เกิน ๑๐% กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็นคู่สัญญาได้รับการยกเว้น ไม่ต้องวางหลักประกัน คู่สัญญาจะวางหลักประกันสูงกว่าที่กำหนด ให้อนุโลมรับได้
56
วิธีปฏิบัติก่อนการคืนหลักประกันสัญญา
หนังสือแจ้งเวียนของสำนักนายกรัฐมนตรี ที่นร (กวพ) ๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒ ๑.ให้หน.หน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ หรือผู้ได้รับมอบหมายให้ดูแล บำรุงรักษา มีหน้าที่ตรวจสอบความชำรุดบกพร่อง ๒.กรณีไม่มีผู้รับผิดชอบตามข้อ ๑ -ให้หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นผู้ดูแล บำรุงรักษา และตรวจสอบความ ชำรุดบกพร่อง
57
๓. กรณีพบความชำรุดบกพร่อง ในระหว่างเวลาประกันตามสัญญา
๓. กรณีพบความชำรุดบกพร่อง ในระหว่างเวลาประกันตามสัญญา ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตามข้อ ๑ -รีบรายงานหัวหน้า ส่วนราชการ -เพื่อแจ้งให้ผู้ขาย หรือผู้รับจ้างแก้ไข/ซ่อมแซมทันที และแจ้ง ผู้ค้ำประกัน(ถ้ามี) ทราบด้วย
58
๔.ก่อนสิ้นสุดเวลาประกันความชำรุดบกพร่อง ภายใน ๑๕ วัน กรณีประกันไม่เกิน ๖ เดือน ภายใน ๓๐ วัน กรณีประกันเกิน ๖ เดือนขึ้นไป ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ และให้รายงานหส.ราชการทราบอีกครั้งหนึ่ง หากตรวจพบให้หัวหน้าส่วนราชการรีบแจ้งให้แก้ไขก่อนสิ้นสุดเวลาประกันและแจ้งผู้ค้ำประกัน(ถ้ามี) ทั้งนี้ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ แจ้งกำหนดเวลาประกันความชำรุดบกพร่องตามสัญญาให้หัวหน้าหน่วยงาน หรือ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทราบพร้อมกับการส่งมอบพัสดุทุกครั้ง
59
หลักเกณฑ์/วิธีปฏิบัติ ในการคืนหลักประกันสัญญา
หลักเกณฑ์/วิธีปฏิบัติ ในการคืนหลักประกันสัญญา ๑.)ให้ส่วนราชการคืนหลักประกันสัญญา ตามระเบียบฯข้อ ๑๔๔ (๒) โดยเร็ว -อย่างช้าไม่เกิน ๑๕วันนับแต่วันพ้นข้อผูกพัน โดยไม่ต้องรอให้มีการร้องขอคืน ๒.)กรณีเป็นหนังสือค้ำประกันธนาคาร/บ.เงินทุนหลักทรัพย์ หากคู่สัญญาไม่มารับคืนภายในกำหนดเวลา ให้รีบส่งต้นฉบับคืนให้คู่สัญญาทางไปรษณีย์ลงทะเบียนโดยเร็วตามระเบียบ ข้อ ๑๔๔ วรรคท้ายต่อไป
60
หลักเกณฑ์/วิธีปฏิบัติในการคืนหลักประกันสัญญา(ต่อ)
๓.) กรณีตาม ข้อ ๒.) ให้รับรองว่าหลักประกันดังกล่าวหมดระยะเวลาค้ำประกันเมื่อวัน เดือน ปี ใด เพื่อมิให้คู่สัญญาต้องเสียค่าธรรมเนียมการต่ออายุหนังสือค้ำประกัน- โดยไม่จำเป็น ๔.) กรณีหาต้นฉบับหนังสือค้ำประกันไม่พบ ให้ส่วนราชการรีบแจ้งให้คู่สัญญาและธนาคาร หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ผู้ค้ำประกัน ทราบว่า: หนังสือค้ำประกัน หมด-ระยะเวลาค้ำประกันสัญญาแล้ว เมื่อวัน เดือน ปี ใด/ส่งสำเนาหนังสือค้ำประกันไปด้วย(ถ้ามี)
61
ส่วนราชการแจ้งผู้ค้ำประกัน ให้จ่ายค่าซ่อมแซมความ
ส่วนราชการแจ้งผู้ค้ำประกัน ให้จ่ายค่าซ่อมแซมความ ชำรุดบกพร่อง ก่อนที่จะแจ้งให้ผู้รับจ้างจ่าย ได้ ปัญหาสัญญาค้ำประกันที่ธนาคารทำไว้สรุปว่า “ข้าพเจ้ายอมผูกพันตน โดยไม่มีเงื่อนไขเช่นเดียวกับลูกหนี้ชั้นต้นในการชำระเงินให้ ตามสิทธิเรียกร้องของผู้รับจ้างจำนวนเงินไม่เกิน.... บาท...ใน กรณีผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติหน้าที่ใดๆโดยไม่จำเป็นต้องเรียกให้ ผู้รับจ้างชำระหนี้ก่อน เมื่อผู้รับจ้างไม่ซ่อมแซมความชำรุดบกพร่องของอาคาร ตามสัญญา -ส่วนราชการ หารายอื่นมาซ่อมแทน ค่าใช้จ่ายในการซ่อมเป็น ค่าเสียหายอันเกิดจากการไม่ปฏิบัติตามสัญญา แนวปฏิบัติ ส่วนราชการ สามารถเรียกให้ธนาคารผู้ค้ำประกัน ชำระหนี้ได้ โดยไม่จำต้องเรียกให้ผู้รับจ้างชำระหนี้ก่อน
62
การบอกเลิก และ การตกลงกันเลิก สัญญา/ข้อตกลง
63
ข้อควรระวัง เรื่องการบอกเลิกสัญญา
ข้อควรระวัง เรื่องการบอกเลิกสัญญา ปัญหา ถ้าส่วนราชการคู่สัญญา มีหนังสือแสดงเจตนาใช้ สิทธิบอกสัญญาไปยังผู้ขาย หรือผู้รับจ้างแล้ว ย่อมมีผลให้สัญญาสิ้นสุดลงทันที และไม่อาจถอน การบอกเลิกสัญญาได้(ประมวลกฎหมายแพ่งฯม.๓๘๖) แนวทางปฏิบัติ คำวินิจฉัยกวพ. คู่สัญญาที่เป็นผู้ขาย/ผู้รับจ้าง จะขอผ่อนปรนการปฏิบัติตามสัญญาอีกไม่ได้ หากส่วนราชการประสงค์จะซื้อ/จ้าง รายเดิม ต้องดำเนินการจัดหาใหม่ จะแก้ไขสัญญาก็มิได้
64
ความรู้เกี่ยวกับการตรวจรับพัสดุ ตามระเบียบฯ ข้อ ๗๑ ข้อ ๗๒ข้อ ๗๓
65
ระยะเวลาการตรวจรับพัสดุ
ส.เวียน สำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร.๑๓๐๕/ว.๕๘๕๕ ลว. ๑๑ กค.๔๔ ให้ตรวจรับวันที่มีหนังสือนำพัสดุมาส่งตามเงื่อนไขสัญญา งานก่อสร้าง/ระยะเวลาตรวจ ผู้ควบคุมงาน งวดละ๓ วันทำการ /คกก.ตรวจการจ้าง งวดละ ๓ วัน งวดสุดท้าย ๕ วันทำการนับจากรับรายงานตรวจรับจากผู้ควบคุมงาน งานซื้อ/จ้างทำของ– ตรวจรับทันทีในวันที่นำพัสดุมาส่งอย่างช้าไม่เกิน๕วันทำการ(ไม่รวมเวลาที่ใช้ทดลอง) ต้องมีหลักฐานการส่งมอบเป็นหนังสือด้วย เพื่อ:-เป็นหลักฐานยืนยันวันที่ส่งมอบตามสัญญา และเป็นประโยชน์ในการคิดคำนวณค่าปรับ
66
การตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
กำหนดหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามสัญญา /ข้อตกลง กรณีจำเป็นไม่อาจตรวจนับเป็นจำนวนหน่วยได้ทั้งหมด ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ > รับพัสดุไว้/ ถือว่าผู้ขาย,ผู้รับจ้าง ส่งมอบครบวันที่นำพัสดุมาส่ง > มอบของให้เจ้าหน้าที่พัสดุ > ทำใบตรวจรับอย่างน้อย 2 ฉบับ (ให้ผู้ขาย 1 เจ้าหน้าที่พัสดุ 1 เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน ) > รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ
67
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีส่งมอบไม่ถูกต้องตามสัญญา > ไม่ถูกต้องในรายละเอียด * ให้รายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั่งการทันที กรณีถูกต้องแต่ไม่ครบจำนวน/ หรือครบแต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด *แจ้งผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง ทราบภายใน 3 วันทำการนับแต่วันตรวจพบ หากจะให้รับเฉพาะที่ถูกต้อง รีบรายงาน หส.ราชการพิจารณา แก้ไขสัญญาก่อน แล้วจึงตรวจรับส่วนที่ถูกต้อง > >สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่ส่งไม่ถูกต้อง)
68
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีพัสดุเป็นชุด / หน่วย ให้ดูว่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งจะใช้การไม่ได้ อย่างสมบูรณ์ * ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ รีบรายงาน หส.ราชการภายใน 3 วันทำการนับแต่ตรวจพบ กรรมการตรวจรับบางคนไม่ยอมรับพัสดุ ให้ทำความเห็นแย้งไว้ > ถ้า หัวหน้าส่วนราชการ สั่งการให้รับพัสดุไว้ * ให้ออกใบตรวจรับให้ผู้ขาย/ผู้รับจ้างและจนท.พัสดุ เป็นหลักฐาน
69
การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง แต่ต้องรายงาน หส.ราชการทราบ/สั่งการ
ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ ๗๒ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ตรวจรายงานของผู้ควบคุมงาน ดูการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์ รับทราบการสั่งการของผู้ควบคุมงาน กรณีสั่งผู้รับจ้างหยุด/ พักงาน แต่ต้องรายงาน หส.ราชการทราบ/สั่งการ
70
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่าไม่น่าจะเป็นตามหลักวิชาการ ให้ออกตรวจสถานที่ที่จ้าง ให้มีอำนาจ สั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง ตรวจผลงานที่ส่งมอบ ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันประธานกรรรมการ รับทราบการส่งมอบงาน ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด
71
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ คณะกรรมการต้องตรวจรับตามแบบรูปรายการตามสัญญา
มหาวิทยาลัย ส. จ้างก่อสร้างระบบระบายน้ำ/และที่พักบุคลากร ตามประกาศประกวดราคา ข้อ ๑๒.๒ กับสัญญาจ้างข้อ ๑๓ กำหนดตรงกันว่า เรื่องแบบรูป และรายละเอียดคลาดเคลื่อนไว้สรุปว่า “เอกสารประมาณราคางาน รายละเอียดปริมาณราคาวัสดุ และค่าแรงงานแต่ละรายการของมหาวิทยาลัย ไม่ถือเป็นข้อผูกพันที่ต้องพิจารณาหรือปฏิบัติไปตามนั้น → ผู้เสนอราคาต้องรับผิดชอบตรวจสอบรูปแบบ ถอดแบบ คำนวณราคาแต่ละรายการของงานเอง จะไม่กล่าวอ้างปฏิเสธความรับผิดพลาด คลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรม จะปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของ คกก. ตรวจการจ้างหรือผู้ควบคุมงานของผู้ว่าจ้าง (มหาวิทยาลัย) โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพิ่ม”
72
ใบ BOQ แตกต่างจากแบบรูปรายการ คกก
มติ กวพ. เมื่อปรากฏว่า รายละเอียดงานที่กำหนดไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคา (BOQ) BILL OF QUANTITY ของผู้รับจ้าง แตกต่างไปจากรูปแบบรายการตามสัญญา ผู้รับจ้างฯจะปฏิเสธความรับผิดชอบไม่ได้ - คณะกรรมการตรวจงานจ้าง (มหาวิทยาลัย) ต้องยึดถือตามรูปแบบรายการตามที่ปรากฏในเงื่อนไขสัญญา
73
การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ
74
การลงบัญชี/ทะเบียน ควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใดๆ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุม ตามตัวอย่างกวพ. อะไรเป็นวัสดุ /ครุภัณฑ์ ให้ดูหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามหนังสือเวียนสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ สร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลว. ๒๐ ม.ค.๒๕๔๘ วิธีลงทะเบียน(ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙) ๑) วัสดุ- ลงบัญชีวัสดุตามแบบที่ กวพ. กำหนดไว้เดิม ๒) วัสดุ ที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อหน่วย หรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภัณฑ์ -ให้ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินตามแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนดไว้ แต่วัสดุที่มีอายุใช้งานนานที่ไม่ถึง ๕ พันบาท ไม่ต้องคิดค่าเสื่อมราคา ตามส.ด่วนที่สุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙
75
“ การตรวจสอบพัสดุประจำปี” (ข้อ ๑๕๕) ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส
“ การตรวจสอบพัสดุประจำปี” (ข้อ ๑๕๕) ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตั้งผู้ตรวจสอบพัสดุทำหน้าที่ดังนี้ โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พัสดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน ผู้ได้รับแต่งตั้งจะทำการตรวจสอบพัสดุ “” “งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปีก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปีปัจจุบัน” โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิดทำการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า:- มีพัสดุ ชำรุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด หรือไม่จำเป็นต้องใช้งานต่อไป ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผู้แต่งตั้ง ๑ชุด / สตง. ๑ ชุด
76
การจำหน่ายพัสดุ (ข้อ ๑๕๗)
พัสดุใดหมดความจำเป็นในการใช้งาน /ใช้งาน จะสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายมาก ให้หส.ราชการ พิจารณาสั่งจำหน่ายโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้ ขาย/ขายทอดตลาด (เว้นแต่ ได้มารวมกันไม่เกิน ๑ แสน ใช้วิธีตกลงราคา) แลกเปลี่ยน โอนให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น องค์การสาธารณกุศล แปรสภาพ หรือทำลาย ( ข้อ๑๖๐ เมื่อดำเนินการตามระเบียบแล้ว ให้จ่ายออกจากทะเบียน)
77
๒. การประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด
ให้ส่วนราชการทำการประเมินราคาทรัพย์สิน โดยอาศัยหลักเกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใดในการประกอบการพิจารณา ดังนี้ ๒.๑ ราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่นของสภาพปัจจุบันพัสดุนั้น ณ เวลาที่จะทำการขาย และ ควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม ๒.๒ ราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน รวมทั้งสภาพและสถานที่ตั้งของพัสดุ กรณีไม่มีจำหน่ายทั่วไป ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการในการพิจารณาตามหลักเกณฑ์ข้างต้น และให้คำนึงถึงประโยชน์ของทางราชการด้วย
78
การเสนอราคาตามระเบียบฯพัสดุ พ. ศ
การเสนอราคาตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๔๙ ข้อ ๓ กำหนดให้หน่วยงานภาครัฐ ที่มีวิธีซื้อ/จ้าง วงเงินตั้งแต่ ๒ ล้านบาท ขึ้นไป ให้จัดหาด้วยวิธีการประกวดราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ ยกเว้นไม่ใช้กับ ๒. การจ้างออกแบบและ ควบคุมงาน การจ้าง ที่ปรึกษา ๓. ซื้อ/จ้าง โดย -วิธีพิเศษ -วิธีกรณีพิเศษ ๔.ได้รับยกเว้นจาก กวพ.อ (ข้อ๓)
79
กระบวนการและขั้นตอนการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีการทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
สรุป 1 เมื่อทราบวงเงินที่จัดหาแล้ว(ได้รับอนุมัติโครงการ) งานก่อสร้าง –ออกแบบ/แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง 2 ให้แต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา ข้อยกเว้น (มติครม.๒๘ ก.ค.๒๕๕๒) งบไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตงาน(TOR)และร่างเอกสารประกวดราคา ก็ได้
80
การแต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตงาน(TOR) และร่างเอกสารประกวดราคา มติคณะรัฐมนตรี ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ ผ่อนผันจนกว่าแก้ไขระเบียบเสร็จ หลัก ให้หัวหน้าหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ แต่งตั้งคกก.ร่าง TOR จำนวนกี่คนก็ได้ ตามความจำเป็นและเหมาะสม ข้อยกเว้น มติครม.๖ตุลาคม ๒๕๕๒(ที่ นร๐๕๐๖/ว๑๘๒ลว.๑๒ ต.ค.๕๒) ผ่อนผันจะแต่งตั้งคกก.ร่างTOR ฯ หรือไม่แต่งตั้งก็ได้ ดังนี้:- ๑. ถ้าวงเงินจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท ๒. งานก่อสร้างที่มีแบบและข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานไว้แล้ว (แต่ยังต้องนำ TOR และร่างประกาศประกวดราคาไปลงWeBsite ) งบอื่นๆ
81
หากแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR
3 4 นำสาระสำคัญของร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา ไปลงWebsite ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ประชาชนวิจารณ์ ไม่น้อยกว่า ๓ วัน ข้อยกเว้น งบไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ ข้อ๘(๑)จะไม่นำสาระสำคัญของร่างTOR และเอกสารประกวดราคาลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลางให้สาธารณชนวิจารณ์ ก็ได้ หากลงเว็บไซต์ให้วิจารณ์ ถ้ามีผู้วิจารณ์ ร่าง TORฯ ให้วิจารณ์โดยทำเป็นลายลักษณ์อักษรผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงานที่จัดหามระเบียบฯ ๔๙ ปกติ 5
82
หากเห็นควรปรับปรุงหรือไม่ปรับปรุงร่าง TOR
6 หากเห็นควรปรับปรุงหรือไม่ปรับปรุงร่าง TOR ให้นำไปลงWebsite ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ประชาชนทราบอีกครั้งหนึ่งซึ่งไม่น้อยกว่า ๓ วัน 7 หลังจากนั้นให้นำไปจัดทำรายงานขอซื้อ หรือขอจ้าง เพื่อขอความเห็นชอบ กับหัวหน้าหน่วยงานที่จัดหา และลงนามในประกาศประกวดราคา ตามแบบที่กวพ.อ กำหนด พร้อมกับเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ คัดเลือก ผู้ให้บริการตลาดกลาง /คกก.ตรวจรับพัสดุ /ตรวจการจ้าง และ ผู้ควบคุมงาน/ แล้วนำไปลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและของกรมบัญชีกลางไม่น้อยกว่า ๓ วัน อีกครั้งหนึ่ง
83
องค์ประกอบในการแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ
มี ดังนี้(มติครม. ๖ตุลาคม ๒๕๕๒ กำหนดใหม่) วงเงินไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท ให้มีคณะกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า๓ คน แต่ไม่เกิน ๗ คน ๒. จะมีบุคคลภายนอกร่วมด้วยหรือไม่ ก็ได้ ๓. ให้มีบุคลากรของหน่วยงานเป็น กรรมการและเลขานุการ/จะแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่ก็ได้ วงเงินเกิน ๑๐ ล้าน ขึ้นไป ๑.ให้มีคกก.จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ คนแต่ไม่เกิน ๗ คนโดยจะต้อง มีบุคคลภายนอกอย่างน้อย ๑ คน เข้าร่วมเป็นกรรมการด้วย ๒.ให้เจ้าหน้าที่พัสดุหรือที่เรียกชื่ออย่างอื่นในหน่วยงานนั้น เป็นกรรมการและเลขานุการ ๓.จะแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่ ก็ได้
84
AGENDA ความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างที่จำเป็นสำหรับนักบริหาร หลักการ แนวทางและกระบวนการในการบริหารการพัสดุและการจัดซื้อ จัดจ้าง เทคนิค และเครื่องมือการวิเคราะห์ความสำเร็จในการการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่สำคัญในการบริหารการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างตามแนวทางการจัดการแนวใหม่
85
การบริหารความเสี่ยง จากการบริหารงานพัสดุ
86
หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
87
หลักการจัดหาพัสดุ ความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน (Value for Money)
ความโปร่งใส (Transparency) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) ความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จของงาน (Accountability)
88
การจัดหาพัสดุ ต้องคำนึงถึง - คุณสมบัติที่ดีของ * พัสดุ * ผู้ค้า
- จำนวนเหมาะสม - ราคายุติธรรม - การใช้งานทันต่อเวลา
89
แนวทางปฏิบัติ กวพ. การจัดหาพัสดุจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบจนได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจแล้ว จึงไปทำสัญญาหรือข้อตกลง การจัดหาพัสดุหากไม่ปฏิบัติหรือไม่ดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบ ผู้มีอำนาจสั่งให้ปฏิบัติตามหรือดำเนินการ ตามระเบียบได้ ถึงแม้จะได้ดำเนินการเสนอราคาไปแล้วก็ตาม ต้องมีการบันทึกหลักฐานในการดำเนินการ พร้อมทั้งเหตุผลในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนที่สำคัญไว้เพื่อประกอบการพิจารณา
90
ห้ามแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
หลักการจัดหาพัสดุ เปิดเผย โปร่งใส เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม ห้ามก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน คำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน เว้นแต่กรณีที่มีลักษณะเป็นการเฉพาะอันเป็นการยกเว้นที่กำหนดไว้ในระเบียบ ห้ามแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
91
การจัดหาพัสดุ ห้ามมิให้กระทำการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง หลักเกณฑ์
ลดวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกันเพื่อ ให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนด ให้อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างเปลี่ยนไป
92
กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
การจัดทำคำของบประมาณ การก่อหนี้ผูกพัน การเบิกจ่ายเงิน บทลงโทษการฝ่าฝืน
93
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ
หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ การใช้รายจ่าย การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย การรายงานผลการปฏิบัติงาน
94
กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
จัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการ ประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา ผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้าง สรุปผลเป็นรายเดือนทุกเดือน รายละเอียด งานที่จัดซื้อจัดจ้าง วงเงินงบประมาณ วิธีซื้อหรือจ้าง รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกและเหตุผล
95
กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
คำสั่งทางปกครอง การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อ หรือเช่า การสั่งอนุมัติซื้อ หรือจ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย หรือให้เช่า การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ การสั่งเป็นผู้ทิ้งงาน การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
96
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา ต่อหน่วยงานของรัฐ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. รู้ ควรรู้ แต่ไม่ยกเลิกการดำเนินการ โทษจำคุก ปี ปรับ 20,000 – 200,000 บาท 2. ออกแบบ กำหนดราคา เงื่อนไข ผลประโยชน์ตอบแทนเพื่อช่วย กีดกันผู้เสนอราคา โทษจำคุก 5 – 20 ปี / ตลอดชีวิต ปรับ 100,000 – 400,000 บาท 3. กระทำการมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
97
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา ต่อหน่วยงานของรัฐ
ผู้เสนอราคา ร่วมกันในการเสนอราคาเพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม มีโทษจำคุก ปี ปรับ 50% 2. ให้ ขอให้ รับว่าจะให้ (รวมผู้รับ) มีโทษจำคุก ปี ปรับ 50% 3. ข่มขืนใจ โดยใช้กำลังประทุษร้าย/ขู่เข็ญ มีโทษจำคุก ปี ปรับ 50% 4. ใช้อุบายหลอกลวง มีโทษจำคุก ปี ปรับ 50% 5. โดยทุจริตเสนอราคาสูง/ต่ำไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้ มีโทษจำคุก ปี ปรับ 50% นิติบุคคลกระทำผิดให้ถือว่าผู้บริหารเป็นตัวการร่วม
98
ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง
โทษชั้นที่ 1 - มีหน้าที่ปิดประกาศ จัดส่งเอกสาร - ละเลยไม่ปิดปิดประกาศหรือจัดส่งหรือเผยแพร่ - ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน โทษชั้นที่ 2 - มีหน้าที่เบิกจ่ายพัสดุ จัดทำบัญชี - ไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 2 เดือน ถึง 4 เดือน
99
ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยการงบประมาณและการคลัง
โทษชั้นที่ 3 - มีหน้าที่พิจารณาผลปฏิบัติไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข โดยรู้ หรือควรจะรู้ เกิดความเสียหาย - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 5 เดือน ถึง 8 เดือน โทษชั้นที่ 4 - มีหน้าที่ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติโดยมิชอบ แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ จัดจ้าง - ปรับเท่ากับเงินเดือนตั้งแต่ 9 เดือน ถึง 12 เดือน
100
ประกาศ คตง.เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
ครุภัณฑ์ เกิน100,000 บาท ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง เกิน 2,000,000 บาท จะต้องจัดทำแผนให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ของเดือนตุลาคม ส่งสำเนาให้ สตง.ภายในวันที่ 31 ตุลาคม กรณีที่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมหรือตัดทอนรายละเอียด ให้ส่งสำเนา สตง. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติ
101
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
กรณีเอกชน ปฏิบัติตามหน้าที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในผลแห่งละเมิดนั้น ต้องฟ้องรัฐ กรณีเอกชน ไม่ได้เกิดจากการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ต้องรับผิดชอบเป็นการเฉพาะส่วนตัว ต้องฟ้องตัวเจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิด จะฟ้องร้องหน่วยงานไม่ได้
102
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
กรณีหน่วยงานของรัฐ ไม่ได้เกิดจากการกระทำ ในการปฏิบัติหน้าที่ บังคับตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กรณีหน่วยงานของรัฐ เกิดจากการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ต้องรับผิดชอบใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัดส่วน เมื่อได้กระทำไปโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
103
การกำหนดราคากลาง งานก่อสร้างหน่วยงานจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อคำนวณราคากลาง ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี ในการคำนวณราคากลางจะต้องยึดถือระเบียบของ ทางราชการเป็นสำคัญ ในกรณีที่ไม่ใช้ระเบียบของทางราชการ หากผิดพลาด ถือว่าประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ทางราชการ
104
ตรวจรับงานจ้างไม่ถูกต้อง
ผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้าง มีหน้าที่ต้องควบคุมดูแลและตรวจการจ้างให้เป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญา ไม่ควบคุมดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงาน อย่างละเอียดรอบคอบ โดยรับรองความถูกต้องทั้งที่ ยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จครบถ้วนตามแบบแปลน พฤติการณ์ถือได้ว่าปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงต้องรับผิดชดใช้ ค่าเสียหายตามสัดส่วน
105
ไม่เรียกค่าปรับ ไม่มีการเรียกค่าปรับ เป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายเนื่องจากส่งมอบงานล่าช้า พฤติการณ์ถือได้ว่าเป็นการกระทำด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ /ตรวจการจ้างจึงต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ทางราชการ
106
คืนหลักประกันซองไม่ชอบ
คืนหลักประกันซอง โดยยังไม่พ้นข้อผูกพัน ถือว่า ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงให้รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
107
การใช้เงินผิดหมวด จัดซื้อครุภัณฑ์ด้วยวิธีตกลงราคา ซึ่งในข้อตกลงระบุว่าเป็นการจัดซื้อวัสดุ โดยใช้จ่ายเงินจากงบดำเนินงาน จึงถือเป็นการเบิกจ่ายเงินผิดหมวดตามระเบียบบริหารงบประมาณ และเป็นการไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ ถือว่าเป็นการกระทำโดยปราศจากอำนาจตามกฎหมาย จึงต้องรับผิดชดใช้จำนวนเงินที่ส่วนราชการต้องจ่ายไป
108
วิธีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถูกต้อง : ราคาแพง
สัดส่วนความรับผิด 60: 20 : 10 :10 คกก.พิจารณาผล : (ผ่าน) ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ สัดส่วนความรับผิด : ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ 60: 20 : 20 คกก.พิจารณาผล : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ สัดส่วนความรับผิด : ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ และ ผบ.ผู้ผ่านงาน 60: 40 คกก.พิจารณาผล : : ผู้อนุมัติ
109
สัดส่วนความรับผิด:ไม่คัดเลือกต่ำสุดที่ถูกต้องตามเงื่อนไข
60:15:15:10 คกก.เปิดซองสอบราคา : ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 60:15:15:10 คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 60 : 40 คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา : ผู้อนุมัติ กรณีที่ จนท.ฝ่ายพัสดุ ผู้ผ่านงานทักท้วงแล้ว แต่ผู้บังคับบัญชา ใช้อำนาจสั่งอนุมัติ จนท.ฝ่ายพัสดุ ผู้ผ่านงานไม่ต้องรับผิด
110
สัดส่วนความรับผิด: การตรวจการจ้างไม่เป็นไปตามรูปแบบรายการ
ผู้บังคับบัญชาควรรู้ 30 : 50 : 10 : 10 คกก.ตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ ผู้บังคับบัญชาไม่รู้ 40 : 60 กก.ตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน
111
สัดส่วนความรับผิด : การตรวจรับพัสดุไม่ถูกต้อง
60 : 20 : 10 : 10 คกก.ตรวจรับพัสดุ : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ (กรณี จนท.ฝ่ายพัสดุ / ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าการส่งของ ไม่ตรงตามสัญญา ไม่ต้องรับผิด)
112
สัดส่วนความรับผิด : ไม่เรียกค่าปรับ
70 : 10 : 10 : 10 คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง (กรณี จนท.ฝ่ายพัสดุ / ผู้บังคับบัญชาไม่ทราบข้อเท็จจริงว่าการส่งมอบงาน / ของ ล่าช้า ไม่ต้องรับผิด)
113
สัดส่วนความรับผิด : กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง
ใช้ค่าfactor f / ราคาวัสดุไม่ถูกต้อง 70 : 15 : 10 : 5 กก.กำหนดราคากลาง : ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 70 : 20 : 10 (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ) กก.กำหนดราคากลาง : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 70 : 30 (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ - ผบ.ผู้ผ่านงาน) กก.กำหนดราคากลาง : ผู้อนุมัติ คำนวณปริมาณงานผิดพลาด 100 กก.กำหนดราคากลาง
114
เป็นการกระทำผิดวินัย
บทกำหนดโทษ บุคคล ผู้มีอำนาจ ผู้มีหน้าที่ดำเนินการตามระเบียบ ผู้หนึ่งผู้ใด กระทำการ โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อไม่ปฏิบัติตามระเบียบ กระทำโดยเจตนาทุจริต กระทำโดยปราศจากอำนาจหรือนอกอำนาจหน้าที่ เอื้ออำนวยแก่ผู้เสนอราคาหรือเสนองาน ให้มีการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม เป็นการกระทำผิดวินัย
115
บทลงโทษ การกระทำมีเจตนาทุจริตหรือเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายอย่างร้ายแรง ลงโทษอย่างต่ำ ปลดออกจากราชการ การกระทำเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายแต่ไม่ร้ายแรง ลงโทษอย่างต่ำ ตัดเงินเดือน การกระทำไม่เป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย ลงโทษภาคทัณฑ์หรือว่ากล่าวตักเตือน โดยทำเป็นลายลักษณ์อักษร การลงโทษไม่หลุดพ้นจากความรับผิดในทางแพ่งหรือทางอาญา
116
งานพัสดุกับความเสี่ยง
117
ข้อพึงระวัง การกำหนด Spec ผู้เสน อราคา งานก่อสร้าง การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
สิ่งของ ผู้เสน อราคา งานก่อสร้าง การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
118
ข้อพึงระวัง การตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน การกำหนด Spec สิ่งของ
ผู้เสนอราคา การใช้ดุลพินิจ การจัดหาโดยวิธีพิเศษ การไม่ซื้อ / จ้าง ที่ต่ำสุด งานก่อสร้าง การบริหารสัญญา การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การตรวจรับ การเผยแพร่ข่าวสาร ผู้ค้า
119
อะไร คือความเสี่ยง ความเสียหายต่อการจัดหาพัสดุ การสมยอมในการเสนอราคา
ความไม่เป็นธรรม การดำเนินงานที่ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่
120
การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่
ตัวอย่าง การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานไม่ใช่เจ้าหน้าที่พัสดุโดยตรง การมอบหมายให้ทำงานโดยไม่มีคำสั่ง การแบ่งแยกหน้าที่ไม่ชัดเจน เช่น เจ้าหน้าที่การเงิน และเจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นบุคคลคนเดียวกัน การมอบหมายให้บุคลากรที่จ้างเหมา ช่วยปฏิบัติงานด้านพัสดุ โดยไม่ตรวจสอบและควบคุม ขาดองค์ความรู้
121
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ
ผลประโยชน์ทับซ้อน ขาดองค์ความรู้ ประสบการณ์ ขาดความรอบคอบ ไม่มีเวลาปฏิบัติงาน ถูกแทรกแซง ไม่มีฐานข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ
122
การพิจารณา + ความเห็น ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามหลักการของกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การทำรายงานการประชุม และรับรองรายงานที่ถูกต้อง ครบถ้วน การบันทึกความเห็นที่แตกต่าง ซึ่งเป็นสาระสำคัญ และประโยชน์ต่อทางราชการ ไม่ทำรายงานสรุปความเห็นเสนอผู้มีอำนาจ เพื่อพิจารณาสั่งการ
123
การกำหนด Spec ไม่มีที่มา ไม่มีการสำรวจความต้องการ หรือสำรวจล่าช้า และไม่รู้ว่าต้องการอะไร ไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับพัสดุที่จัดหา เพื่อใช้งานปกติ เช่น ปริมาณ และคุณลักษณะเฉพาะ ไม่เปิดให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม
124
กำหนดคุณสมบัติผู้เสนอราคา
ผลงานไม่เหมาะสม ทุนจดทะเบียน ไม่สนับสนุนกิจการของคนไทย ไม่มีการจัดทำฐานข้อมูล และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศเพื่ออ้างอิง ผู้เสนอราคามีการสมยอมกับผู้เสนอราคารายอื่น
125
การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
การคำนวณค่า Factor F ไม่ถูกต้อง นำค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ซ้ำซ้อน ราคาวัสดุต่อหน่วยมีราคาสูงกว่าราคาตลาด/ พาณิชย์ ตาราง Factor F ที่ใช้คำนวณไม่ตรงกัน การจ่ายเงินล่วงหน้า ใช้วัสดุไม่ถูกต้องตรงตามคุณลักษณะเฉพาะ ไม่ตามค่า K
126
การบริหารสัญญา การขยายเวลา/ต่อสัญญาโดยไม่มีเหตุผลสมควร สั่งหยุดงานโดยไม่มีเหตุผล ไม่ขยายระยะเวลาตามสัญญา ทั้งที่เป็นความผิดของส่วนราชการ ผู้ควบคุมงาน / คณะกรรมการตรวจการจ้าง ใช้เวลาในการตรวจรับงานมากเกินความจำเป็น ผู้ควบคุมงานไม่อยู่บริเวณงานและจัดทำรายงานตามความเป็นจริง
127
ผู้ควบคุมงาน/คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจรับงานที่ยังไม่เสร็จตามสัญญา
การตรวจรับพัสดุไม่เป็นไปตามสัญญา มีการเปลี่ยนแปลงรายการแต่ไม่ได้แก้ไขสัญญา หรือจัดทำบันทึกแนบท้ายสัญญา การก่อสร้างล่าช้ากว่าสัญญา ไม่มีการแจ้งการปรับและเร่งรัดการก่อสร้าง ปริมาณงานใน BOQ (บัญชีปริมาณงาน) ไม่ถูกต้องตามแบบรูปรายการ ทำให้เกิดปัญหาในการตรวจรับ
128
สาระสำคัญในสัญญาบางประเด็นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขใน TOR และใบเสนอราคา
อนุมัติให้ขยาย/ต่ออายุสัญญา โดยไม่มีเหตุผลสมควรถูกต้องตามความเป็นจริง ไม่ปรับ / ปรับเกินกว่าที่กำหนด ไม่จัดทำทะเบียนควบคุม ครุภัณฑ์/งานก่อสร้างที่อยู่ในระหว่างการประกันความชำรุดบกพร่อง
129
หลักการจัดหาที่ดี ประสิทธิผล กระบวนการดำเนินการ ประสิทธิภาพ
พัสดุที่จัดหา คุณภาพดี มีปริมาณถูกต้อง ส่งของตรงเวลา ราคาที่เหมาะสม คุณสมบัติผู้ประกอบ กระบวนการดำเนินการ กระบวนการพิจารณา ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด โปร่งใส เปิดเผย เป็นธรรม ตรวจสอบได้ จรรยาบรรณ
130
หลักการจัดหาที่ดี 10. ตรวจสอบความชำรุดบกพร่องในระหว่างรับประกัน
1. พิจารณาความจำเป็น/ความต้องการในการใช้งาน 2. พิจารณากำหนดคุณลักษณะเฉพาะ/รูปแบบ/รายการละเอียด 10. ตรวจสอบความชำรุดบกพร่องในระหว่างรับประกัน 4. ดำเนินการจัดหา 5. คัดเลือกผู้ขาย/ผู้รับจ้าง 6. แจ้ง/ทำความตกลง หรือทำสัญญา 7. ควบคุมการปฏิบัติตามสัญญา 8. ตรวจรับ 9. ลงบัญชี/ทะเบียน และส่งมอบผู้ใช้งาน 3. พิจารณาวิธีการจัดหา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.