ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
การใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2558 ณ ห้องประชุมนาคา สำนักงานชลประทานที่ ๔
2
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานธุรการ
1. มีความรู้ภาษาไทย 2. มีความรู้ในเรื่องระบบงาน จัดลำดับความสำคัญได้ 3. มีความรับผิดชอบ ศรัทธาในงานที่รับผิดชอบ 4. มีความละเอียดลออ รอบคอบ สุขุม คล่องแคล่ว ๕. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ๖. มีความคิดริเริ่มดี
3
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๐๖ เสียใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๒๖ เป็นต้นไป มีผลบังคับใช้กับทุกหน่วยงานราชการ ประกาศ ณ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2526
4
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๘
"โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันที่มีการปฏิบัติงาน สารบรรณด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. 25๔๘ ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ.25๔๘
5
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่๒) พ.ศ.๒๕๔๘ ประกาศ ณ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2548 กำหนดว่า "โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันที่มีการปฏิบัติงานสารบรรณด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และเป็นการสอดคล้องกับการบริหารราชการแนวทางใหม่ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ความคุ้มค่า และการลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน สมควรวางระบบงานสารบรรณ ให้เป็นการดำเนินงานที่มีระบบ มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และลดความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติราชการ" ดังนั้น จึงสามารถสรุปความหมายของระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ว่าคือ “การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์”
6
งานสารบรรณ หมายถึง งานที่เกี่ยวกับการบริหาร งานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร
7
ระเบียบ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นการประจำ
8
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
9
ชนิดของหนังสือราชการ มี 6 ประเภท ได้แก่
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม หมวด 1 ชนิดของหนังสือราชการ มี 6 ประเภท ได้แก่ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ์ 6. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
11
คำอธิบายการพิมพ์หนังสือราชการไทยด้วยโปรแกรมการพิมพ์ในเครื่องคอมพิวเตอร์
การออกเลขหนังสือราชการของกรมชลประทาน การกำหนดอักษรย่อและเลขรหัสประจำสำนักและกองต่างๆ ของกรมชลประทาน วิธีแก้ปัญหาการใช้งานระบบสารบรรณฯ กรณีไม่สามารถสั่งพิมพ์รายงานได้
12
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 1. เอกสารรอลงทะเบียน 1.1 ทะเบียน สัญลักษณ์ กระดาษสีฟ้า – รอต้นฉบับแต่หากมี Fileงานแนบให้เปิดอ่านเพื่อป้องกันที่ผิดพลาด กรณีมีข้อสงสัยติดต่อหน่วยงานที่ส่งเอกสาร กระดาษสีส้ม จะแนบ Fileงานทุกครั้ง ลงทะเบียนรับทันทีไม่ต้องรอต้นฉบับ 1.2 สัญลักษณ์ ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด 1.3 กรณีที่มีเลขทะเบียนเดิมปรากฏ ให้รับเรื่องอีกครั้ง และเข้าไปตรวจสอบเอกสารแนบ 2. เอกสารส่งคืน - กรณีปรากฏเอกสารส่งคืน ให้เข้าระบบรับทราบ จึงจะทำงานต่อไป * หากเป็นหน่วยงานที่ตีกลับ ให้ระบุเหตุผลด้วยทุกครั้ง
13
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. การลงรับเอกสาร 3.1 ตัวอักษรสีแดง ต้องกรอกข้อมูลครบทุกช่อง ช่องจาก, ถึง ต้นเรื่องมาจากหน่วยงานใด ไม่ต้องแก้ไข เช่น จาก สลก. ถึง ผอ.กอง/สำนัก ผส.ชป.1 – 17 3.2 เอกสารไม่มีเลขหนังสือให้ใช้ 1. - คำสั่งกรมที่ - คำสั่งสำนักที่ - คำสั่งโครงการที่ - คำสั่งสวัสดิการที่ 2. ใช้ชื่อผู้ลงนามหนังสือนั้น ตามด้วย ว.ด.ป. เช่น นายปัญญา05/05/ ๒๕๕8 นางอรทิน03/06/2558 3. กรณีเป็นเรื่องร้องเรียนให้เพิ่มคำว่า “ร้องเรียน/ ”ข้างหน้าตามด้วย ชื่อผู้ร้องเรียนและ ว.ด.ป. เช่น ร้องเรียน/นายปัญญา05/05/2558 หรือ ร้องเรียน/รหัส
14
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. การลงรับเอกสาร 3.3 การกรอกชื่อเรื่องให้ใส่เนื้อหาครบถ้วนหากไม่พอกรอกเพิ่มในช่องรายละเอียด ยึดหลัก 5 W 1H เช่น เรื่อง ขอเชิญประชุม ให้เติมข้อมูลเพิ่มในช่องเรื่องคือ ขอเชิญประชุมเรื่อง ที่ไหน เวลา 3.4 การเลือกชั้นความเร็ว ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด 3.5 หมวดเอกสาร มักลืมเป็นนิจ 3.6 การลงรับย้อนหลัง เมื่อกรอกข้อมูลครบทุกช่องแล้ว ให้ใส่เลขทะเบียนที่ต้องการย้อนหลัง ใส่ช่องเลขทะเบียน เช่น ข้อควรระวัง การเปลี่ยนวันที่ของช่องลงวันที่ วว/ดด/ปปปป จะต้องเป็นวันที่ของหนังสือฉบับที่นำมาลงทะเบียนแต่ระบบจะบันทึกว่า ลงรับวันที่เท่าไร แก้ไขไม่ได้
15
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 4. การออกเลขที่หนังสือ - ทำได้ 2 วิธี คือ จากหน้าหลัก สร้าง/ทะเบียนเอกสารภายใน หรือจากเอกสารรับเข้าโดยการโอนสร้างเอกสารภายในองค์กร - ควรเลือกประเภทเอกสารก่อนทุกครั้ง กรอกข้อมูลทุกๆ ช่อง ผู้ลงนาม ตัวอย่าง ผชช.ชป.4 รักษาราชการแทน ผส.ชป.4 วศ.คป.ตาก รักษาการในตำแหน่ง ผคป.ตาก จน.คบ.แม่ยม รักษาการในตำแหน่ง ผคบ.แม่ยม ที่เก็บเอกสาร แฟ้มที่จัดเก็บ หมายเหตุ หน่วยงานเจ้าของเรื่องที่จัดทำหนังสือฉบับดังกล่าว วิธีการรับ – ส่งเอกสาร ควรเลือกได้สะดวกในการค้นหา - ข้อแตกต่างของช่อง สร้าง/สร้างและเก็บต้นแบบข้อความ กรณีที่สร้างเอกสารครั้งแรกควรเก็บต้นแบบข้อความไว้เพื่อสะดวกในการทำงานครั้งต่อๆไป - การออกเลขที่ย้อนหลัง สามารถทำได้เช่นเดียวกับการลงรับเอกสารย้อนหลัง ข้อควรระวัง คือ เอกสารลงวันที่ - ถ้าได้เลขทะเบียนแล้ว ต้องกดตกลงเพื่อยืนยันการใช้เลขทะเบียนนั้นอีกครั้ง
16
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 5. การแนบไฟล์เอกสาร - กรณีแนบไฟล์เอกสาร ให้เติมคำอธิบายของเอกสารในช่องหมายเหตุ เพื่อให้ทราบว่าเป็นเอกสารเรื่องอะไร - ช่องหมายเหตุกรอกข้อมูลที่เกี่ยวข้อง/สื่อการเชื่อมโยงให้ผู้รับเอกสารเข้าใจ - กรณีมีการอ้างอิงเอกสารเรื่องเดิม ให้ใส่เลขที่เอกสารนั้นในช่องเลขที่เอกสารที่เกี่ยวข้อง (ข้อสังเกต ถ้าใส่เลขที่เอกสารถูกต้องจะเป็น สีเขียว และมีรูปมือให้ สามารถติดตามรายละเอียดเรื่องเดิมได้) สามารถแนบได้ครั้งละ 5 ไฟล์ ขนาดไฟล์ไม่ควรเกิน 5 Mb ให้แนบเอกสารเป็นไฟล์ Word , Excel และ PDF ที่จัดทำ หรือที่ดำเนินการในส่วนของตนเอง ให้แนบเอกสาร เฉพาะที่เพิ่มเติมข้อสั่งการ แต่ระบุช่องหมายเหตุให้พิมพ์เอกสารที่เกี่ยวข้องเอง เอกสารแนบจากการ scan ควรตรวจความถูกต้อง ครบถ้วน สะอาด และชัดเจน ควรหลีกเลี่ยงการ scan เอกสารเป็นสี ยกเว้น กรณีจำเป็น เช่น รูปภาพ
17
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 5. การแนบไฟล์เอกสาร - กรณีแนบเอกสารผิด สามารถแก้ไขได้โดย ใช้ปุ่ม E เพื่อแก้ไข้แนบเอกสารใหม่แทนเอกสารเดิม 2. ใช้ปุ่ม D เพื่อลบเอกสารเดิม แล้วใช้ปุ่ม A แนบเอกสารใหม่
18
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 6. การบันทึกงาน รายการเอกสารที่ต้องติดตาม - ให้บันทึกงานทุกครั้งที่ผู้บังคับบัญชาเกษียนหนังสือ กรณีที่ข้อความยาวให้สรุปใจความสำคัญ - กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง - คำสั่งพิเศษให้เลือก - นำเสนอ/ผู้ปฏิบัติ (ผอ.ส่วน/โครงการ/ฝ่าย) - บันทึกการปฏิบัติ คือ ข้อสั่งการของผู้เกษียนหนังสือ - งานมีกำหนดเวลาเลือกติดตามผลการทำงาน ที่ดำเนินการแล้วเสร็จวันที่ วว/ดด/ปปปป - ให้บันทึกดำเนินการเสร็จวันที่ วว/ดด/ปปปป เช่น 07/02/ เลือกติดตามผลการทำงาน หากดำเนินการช้าระบบจะเตือนโดยตัวหนังสือจะเป็นสีแดง - ภายหลังงานดำเนินการแล้วเสร็จ ยกเลิกการเลือกติดตามผลการทำงานระบบ จะไม่แจ้งเตือน
19
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 7. การส่งเอกสาร - การส่งเอกสารในระบบมี 2 แบบ คือ 1. ส่งในระบบพร้อมจัดส่งเอกสารตาม สัญลักษณ์เป็นรูปกระดาษ สีฟ้า กรณีนี้ต้องส่งเอกสารตามโดยเร็ว 2. ส่งในระบบพร้อมไฟล์แนบโดยไม่ต้องส่งเอกสาร สัญลักษณ์เป็นรูปกระดาษสีส้ม - สร้างกลุ่มผู้รับ เลือกหน่วยงานที่จะส่งเอกสารให้ย้ายเข้าช่องสีฟ้า/ สีส้ม เมื่อครบ แล้วเลือกสร้างกลุ่มผู้รับจะปรากฏกรอบให้ตั้งชื่อกลุ่มผู้รับ (ตั้งชื่อกลุ่ม) เลือกตกลง - การส่งอกสารโดยเลือกครั้งละหน่วยงาน/เลือกกลุ่มผู้รับที่สร้างขึ้น ส่งเอกสาร E –mail - ชื่อผู้ส่ง E – mail จะได้รับอนุญาตให้ใช้งานก่อน - เลือกรายละเอียด/เอกสารแนบเฉพาะที่ต้องการส่ง - พิมพ์ข้อความเพิ่มได้ตามต้องการ - เลือกส่งข้อความ
20
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 8. การยกเลิกเอกสาร กรณีต้องเก็บเป็นหลักฐานแต่นำมาใช้ไม่ได้ เลขทะเบียนและรายละเอียดยังคงอยู่แต่ไม่สามารถบันทึกงาน/แก้ไข/ส่งงานได้ 9. การลบเอกสาร (ยกเว้น มีการลงรับเอกสารต่อจากหน่วยงานอื่น) เลขทะเบียนที่ลบสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้โดยใส่เลขทะเบียน ที่ลบออก ในกรอบมุมบนด้านขวา - กรณีสร้างเลขทะเบียนล่าสุดของการใช้งาน จะต้องไม่ลืมที่จะกลับไปหน้าหลัก เข้าเมนูผู้ดูแลระบบเพื่อเข้าไปแก้ไขเลขทะเบียนย้อนกลับ เช่น ลบทะเบียน 197 จะต้อง แก้ไขในผู้ดูแลระบบเป็นเลข 196 เพื่อที่จะใช้งานเลขทะเบียน 197 ต่อไป 10. การปิดงาน - กรณีโอนสร้างเอกสารส่งออกภายในองค์กร ระบบจะปิดงานให้อัตโนมัติ - ปิดงานเมื่อดำเนินการแล้วเสร็จเพื่อจัดเก็บเอกสาร และสามารถ ปิดงานได้ครั้งละหลายๆทะเบียนจากหน้าหลัก (เมนูคำสั่งพิเศษ)
21
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 11. การติดตามงาน จากเอกสารเลขที่ 11.1ใช้กรณีงานที่มีกำหนดเวลา ต้องกำชับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ให้ตรวจสอบหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่าได้รับหนังสือดังกล่าวหรือไม่ 11.2 ใช้กรณี ติดตามว่างานดำเนินการถึงขั้นใด ทั้งนี้ผู้ปฏิบัติงานแต่ละหน่วยงานจะต้องบันทึกงานจึงจะติดตามงานก้าวหน้าของงานได้ ต้องเล็งเห็นความสำคัญของการบันทึกงานในระบบ 12. การโอนเอกสารข้ามปี - เลือกเลขทะเบียนที่ต้องการโอนข้ามปี เลือกโอนข้ามปี จะปรากฏหน้าต่าง ให้เลือกปีที่ต้องการโอน และเลือก ตกลง - เอกสารที่ถูกโอนข้ามปีจะปรากฏเลขทะเบียนในปีที่โอนเอกสารไป เช่น 57/782 - เพื่อสะดวกในการทำงานเมื่อต้องการหาเอกสารที่โอนข้ามปีให้ใส่ เลขทะเบียน ปป/เลขทะเบียน เช่น งานโอนจากปี เลขทะเบียน 782 ไปดำเนินการต่อเนื่องปี เลขทะเบียนที่ปรากฏในปี 2558 คือ 57/782 เป็นต้น
22
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 13. การออกเลขที่และลงทะเบียนรับหนังสือ ใกล้สิ้นปีปฏิทิน 1. ควรมีการจองเลข(ประมาณ 10 – 15 เลข) เนื่องจากการออกเลขที่หรือลงทะเบียนรับจะไม่สามารถย้อนหลังได้ 2. หลังจากออกเลข-ลงทะเบียนรับเรียบร้อยแล้วให้แก้ไขรายละเอียด ข้อดีคือ ระบบจะปรากฏวันที่ตามที่ต้องการ 14. การใช้เมนู “ค้นหา” - ไม่ควรใช้ประโยคยาวๆ แต่ใช้คำสั้นๆ และเป็นคำเฉพาะ เจาะจง จะทำให้การค้นหาแคบลง - หากมีคำค้นหลายคำ ให้เว้นวรรค - กรณีที่การค้นหาไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน สามารถให้ใช้ เมนูการค้นหาตามเงื่อนไข - ใส่ข้อมูลช่องใดช่องหนึ่งที่รู้ข้อมูลจริง - ช่องรายละเอียดใส่คำสั้นๆ เคาะเว้นวรรคใส่คำใหม่ - เลือกตามเงื่อนไข บรรทัดล่างสุด และ, หรือ, ไม่ใช่
23
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 15. การลงรับเอกสาร “ลับ” - ในการลงรับเอกสารเรื่อง “ลับ” ให้เขียนคำว่า “ลับ” ในช่องชื่อเรื่อง และเลือกสถานะเอกสารเป็น “ปกติ” เท่านั้น 16. การใช้คำสั่งพิเศษ - ใช้เมนู “คำสั่งพิเศษ” สามารถปิดงานและส่งงานได้ครั้งละหลาย ๆ เลขทะเบียนในเวลาเดียวกัน - สามารถตรวจสถิติการใช้งานของผู้ปฏิบัติ 17. การตอบกลับเอกสาร - ใช้เลขทะเบียนเดิมในการส่งเรื่องกลับ/ตอบกลับโดย ไม่ต้องสร้างบันทึกใหม่/ไม่ต้องโอนสร้าง - การตอบกลับเรื่องเดิมกรณีแจ้งชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้แนบรายชื่อหรือบันทึกงานผ่านระบบ โดยไม่ต้องส่งต้นฉบับกลับเจ้าของเดิม - ขณะที่แนบเอกสารให้ระบุในช่องหมายเหตุเพื่อสื่อให้ผู้ที่รับเอกสารทราบถึงจุดประสงค์ที่ส่งงาน - เลขทะเบียนจะไปปรากฏที่เอกสารรอลงทะเบียน
24
แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 18. การจัดเก็บเอกสาร ดำเนินการได้ 2 วิธี อย่าลืมแนบไฟล์เอกสารก่อนจัดเก็บ -โอนข้อมูลจากระบบสารบรรณเข้าสู่ตู้จัดเก็บ ข้อควรระวัง จะต้องเลือกแฟ้มเอกสารที่ถูกต้องและระดับสิทธิ 0 เอกสารส่วนกลาง -เพิ่มใหม่ในระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ - ลบเอกสารที่แนบซึ่งไม่เกี่ยวข้องออก โดยลบเครื่องหมาย ออก
25
3 1 5 6 2 4 7 การแก้ไขปัญหาพิมพ์ใบปะหน้าไม่ได้ (IE)
6 4 2 7
26
1 4 3 5 2 6 การแก้ไขปัญหาพิมพ์ใบปะหน้าไม่ได้ (FireFox)
2 6
27
หากยังไม่สามารถพิมพ์รายงานหรือใบปะหน้าได้ ให้กด Ctrl ค้าง แล้วคลิกซ้าย ๑ ครั้ง รอจนกว่าจะขึ้นหน้าต่าง download แล้วปล่อยปุ่ม Ctrl
28
การตั้งค่าให้ IE ล้างความจำทุกครั้งที่เลิกการทำงาน เช่น Username Password หรือข้อความที่เคยพิมพ์
3 1 4 2 5 6
29
ถ้ามีปัญหาตำแหน่งของ Cursor ไม่ตรงกับคำ เช่น ถ้าต้องการลบอักษรตัวนี้ แล้วกระโดดไปลบ อีกตัวหนึ่ง ซึ่งผิดตำแหน่งที่ต้องการ หรือคำสุดท้ายของแต่ละบรรทัดซ้ำกัน สามารถแก้ไขได้ ดังต่อไปนี้ 1. Menu Tool 2. Internet Options 3. เลือก Accessibility 4. คลิก เลือก Ignore font styles specified on webpages 5. OK
30
การตั้งค่าให้ http://saraban.kromchol.com/iwebflow/ เป็นหน้าแรก
3 1 4 2
31
2 1
32
แล้วไม่เคยทำอะไรผิดเลย
คติสอนใจการทำงาน ไม่มีใครที่เกิดมา แล้วไม่เคยทำอะไรผิดเลย
33
ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานชลประทานที่ ๔ กรมชลประทาน งานเพื่อแผ่นดินไทย
โทร. 0 ๕๕๗1 ๐๐๔๗ – ๘ ภายใน สวัสดีค่ะ กรมชลประทาน งานเพื่อแผ่นดินไทย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.