งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการจัดการพลังงานความร้อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการจัดการพลังงานความร้อน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการจัดการพลังงานความร้อน
และกรณีตัวอย่าง

2 1. ขั้นตอนการอนุรักษ์พลังงาน
1. ขั้นตอนการอนุรักษ์พลังงาน การรวบรวมข้อมูล มีแนวทางในการดำเนินงานดังต่อไปนี้ 1) รวบรวมใบเสร็จค่าพลังงาน 2) แปลงค่าหน่วยต่างๆ ให้เป็นหน่วยเดียวกัน 3) รวบรวมข้อมูลการผลิตในช่วงเวลาเดียวกับข้อมูลการใช้พลังงาน 4) ตรวจสอบและตรวจวัดการใช้พลังงาน

3 1) รวบรวมใบเสร็จค่าพลังงาน 2) แปลงค่าหน่วยต่าง ๆ ให้เป็นหน่วยเดียวกัน
1) รวบรวมใบเสร็จค่าพลังงาน น้ำมันเชื้อเพลิง ไฟฟ้า ฯ ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา 2) แปลงค่าหน่วยต่าง ๆ ให้เป็นหน่วยเดียวกัน

4 3) รวบรวมข้อมูลการผลิตในช่วงเวลาเดียวกับข้อมูล การใช้พลังงาน
3) รวบรวมข้อมูลการผลิตในช่วงเวลาเดียวกับข้อมูล การใช้พลังงาน  กรณีโรงงาน ข้อมูลการผลิตคือ จำนวนผลผลิตที่ได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา เช่น ตัน/ชั่วโมง ฯลฯ กรณีอาคาร อาคารธุรกิจจะแยกออกเป็นแต่ละประเภท  ธุรกิจประเภทโรงแรม ข้อมูลการผลิต คือ ผู้เข้าพัก  ธุรกิจประเภทโรงพยาบาล ข้อมูลการผลิต คือ จำนวนคนไข้ใน จำนวนคนไข้นอก

5 4) การตรวจสอบและการวัดการใช้พลังงาน
4) การตรวจสอบและการวัดการใช้พลังงาน การตรวจสอบและการวัดการใช้พลังงาน จำเป็นจะต้องรู้ว่า  มีการใช้พลังงานที่ไหนและเมื่อไร  มีการใช้พลังงานอย่างไร

6 โรงงานหรืออาคาร ควรจัดเตรียมแผนผังของข้อมูลล่าสุดขององค์กร
ดังต่อไปนี้  แผนผังของกิจการทั้งหมดและแผนการทำงาน  ระบบไอน้ำและ การนำ ความร้อนทิ้งกลับมาใช้งาน  ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้าแสดงตำแหน่งและชนิดของเครื่องมือวัด  ระบบเชื้อเพลิงพร้อมระบบจ่าย  เครื่องทำความเย็น  อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้จำนวนมาก เช่น เตาหลอม

7 ข้อแนะนำในการปฏิบัติในการตรวจวัดการใช้พลังงาน
 ข้อควรปฏิบัติในการวัดเพื่อให้การวัดถูกต้องและได้ประโยชน์ - ต้องมีการอ่านอย่างสม่ำเสมอ - ต้องอ่านเวลาเดียวกันทุกวัน - ควรวัดหลาย ๆ ค่าในช่วงเวลาสั้น ๆ และเฉลี่ยค่าที่อ่านได้ - ต้องทำการวัดอย่างละเอียดสำหรับภาระที่มากกว่า 20 kW. ของพลังงานไฟฟ้า หรือ 175 kW ของพลังงานความร้อน

8 การวัดการใช้พลังงานเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1) การวัดพลังงานไฟฟ้า 2) การวัดพลังงานความร้อน

9 การวัดพลังงานไฟฟ้า - แอมมิเตอร์ - โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือขนาดพกพาที่นิยมใช้ในการตรวจวัดการใช้พลังงานส่วนใหญ่ มีดังนี้ - แอมมิเตอร์ - โวลท์มิเตอร์ - เครื่องวิเคราะห์กำลังไฟฟ้า - เครี่องวัดอุณภูมิและความชื้น

10  การใช้พลังงานไฟฟ้าในแต่ละกระบวนการผลิต
การตรวจสอบและการตรวจวัดเครื่องจักรและอุปกรณ์ทื่ใช้พลังงานไฟฟ้าควรเก็บข้อมูลการใช้พลังงานดังนี้  แผนผังการใช้ไฟฟ้าของโรงงาน  แหล่งจ่ายไฟฟ้าและใบเสร็จรับเงินรับเงินค่าไฟฟ้าในรอบ 12 เดือน  แสดงตำแหน่งหม้อแปลงไฟฟ้าหลักพร้อมระบุขนาด  รายละเอียดสำหรับไฟฟ้า 3 เฟส  รายละเอียดสำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้า 3 เฟส  การใช้พลังงานไฟฟ้าในแต่ละกระบวนการผลิต

11 การวัดพลังงานความร้อน
สำหรับเครื่องมือวัดที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย มีดังนี้  เครี่องมือวัดอุณหฦูมิ  เครื่องมือวัดอัตราการไหล  เครื่องวัดประสิทธิภาพการเผาไหม้  เครื่องมือวัดความดัน

12 ข้อมูลการใช้พลังงานความร้อนสำหรับเครื่องจักร และอุปกรณ์ด้านความร้อน
ประกอบด้วย * จำนวนและขนาดของอุปกรณ์ * ชั่วโมงการทำงาน * ชนิดและปริมาณการใช้เชื้อเพลิง * การสูญเสียพลังงานความร้อน

13 การสูญเสียพลังงานความร้อน
- ตรวจสอบประสิทธิภาพการเผาไหม้ของหม้อไอน้ำ - ตรวจวัดอุณหภูมิของไอเสีย - ประเมินสภาพของฉนวนสำหรับอุปกรณ์ด้านความร้อน - ตรวจสอบคุณภาพน้ำที่ใช้สำหรับหม้อไอน้ำ - ตรวจสอบการรั่วของไอน้ำ กับดักไอน้ำ และอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ำอื่นๆ

14 การวางแผนดำเนินการ 1) ทบทวนข้อมูลการใช้พลังงานและค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในอดีต 2) ทบทวนอัตราค่าพลังงานและข้อตกลงด้านพลังงาน 3) การกำหนดศักยภาพในการนุรักษ์พลังงาน 4) จัดทำโครงสร้างแผนอนุรักษ์พลังงานให้สอดคล้องกฎกระทรวง ประกอบด้วย 4.1 รายงานการตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงานโดยละเอียดครั้งหลังสุด 4.2 เป้าหมายโครงการอนุรักษ์พลังงานและแผนการดำเนินการ 3 ปี

15 เป้าหมายโครงการอนุรักษ์พลังงานและแผนการดำเนินการ 3 ปี
1. ข้อมูลทั่วไป 2. ระดับการใช้พลังงาน 3. เป้าหมายเชิงปริมาณในการปรับปรุงระดับการใช้พลังงาน 4. มาตรการอนุรักษ์พลังงาน 5. แผนดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ 6. มูลค่าการประหยัดที่คาดว่าจะได้รับ 7. ผลวิเคราะห์การลงทุน

16 4.3 เป้าหมายอื่น ๆ (ถ้ามี)
1. ระดับการใช้พลังงานในปัจจุบัน 2. เป้าหมายเชิงปริมาณในการปรับปรุงระดับการใช้พลังงาน 3. มาตรการอนุรักษ์พลังงานและรายละเอียดแผนการดำเนินงาน 4. มูลค่าการประหยัดพลังงานที่คาดว่าจะได้รับ 5. ผลวิเคราะห์การลงทุน คำข้อรับการสนับสนุนทางด้านการเงิน

17 5) การกำหนดความสำคัญก่อนหลัง
5) การกำหนดความสำคัญก่อนหลัง - ผลการประหยัดทั้งหมด - ค่าใช้จ่ายทั้งหมด - ผลประโยชน์ที่ได้รับต่อบริษัทหรือเจ้าของ - กำลังคนที่ต้องการ - ความเสี่ยงของโครงการ

18 โครงการหรือมาตรการประหยัดพลังงานที่ศึกษาในขั้นการตรวจสอบ
และวิเคราะห์การใช้พลังงานโดยละเอียดจะแบ่งได้ดังนี้  โครงการหรือมาตรการที่ไม่มีการลงทุนหรือลงทุนต่ำ  โครงการหรือมาตรการที่มีการลงทุนปานกลาง  โครงการหรือมาตรการที่มีการลงทุน

19 ตัวอย่างโครงการหรือมาตรการที่ไม่มีการลงทุนหรือลงทุนต่ำ
1. ปิดเครื่องจักรที่ยังไม่ใช้งาน 2. ซ่อมรอยรั่วในระบบท่ออัดอากาศ 3. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศให้สูงขึ้น 4. ปิดไฟฟ้าแสงสว่างในกรณีไม่ใช้งาน

20 ตัวอย่างโครงการหรือมาตรการที่มีการลงทุนปานกลาง
1. ติดตั้งระบบปรับเปลี่ยนความเร็วรอบของมอเตอร์ 2. หุ้มฉนวนท่อน้ำเย็น, ท่อน้ำร้อน 3. เปลี่ยนมาใช้หลอดประหยัดพลังงาน / การใช้แผ่นสะท้อนแสง 4. เปลี่ยนมาใช้บัลลาสต์ความสูญเสียต่ำหรือแบบอิเลคทรอนิคส์

21 ตัวอย่างโครงการหรือมาตรการที่มีการลงทุนสูง
1. เปลี่ยนเครื่องทำความเย็นขนาดใหญ่ 2. ติดตั้งชุดนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ใหม่ 3. ปรับปรุงระบบไฟฟ้าแสงสว่างในอาคารหรือในโรงงานทั้งหมด 4. ติดตั้งระบบจัดการพลังงาน

22 ตัวอย่างการกำหนดความสำคัญก่อนหลัง (ก่อนจัดความสำคัญ)
ลำดับที่ โครงการ / มาตรการ ระยะเวลาคืนทุน (ปี) เงินลงทุน (บาท) การใช้ VSD สำหรับ Chiller Water System ,565,000 โคมสะท้อนแลงประสิทธิภาพสูง ,000 การเปลี่ยนการใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง ,000 การนำคอนเดนเสทกลับมาเป็นน้ำเลี้ยง ,500 หม้อไอน้ำ การหุ้มฉนวนอุปกรณ์ ,000

23 ตัวอย่างการกำหนดความสำคัญก่อนหลัง (หลังจัดความสำคัญ)
โครงการ / มาตรการ ระยะเวลาคืนทุน (ปี ) เงินลงทุน (บาท) 1 การหุ้มฉนวนอุปกรณ์ 0.85 65,000 2 โคมสะท้อนแลงประสิทธิภาพสูง 1.8 60,000 3 การเปลี่ยนการใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง 2.1 80,000 4 การนำคอนเดนเสทกลับมาเป็นน้ำเลี้ยงหม้อไอน้ำ 2.6 127,500 5 3.2 2,565,000 การใช้ VSD สำหรับ Chiller Water System ลำดับที่

24 ปัจจัยที่ต้องพิจารณา
มีปัจจัยที่ต้องพิจารณามากมายเมื่อจะกำหนดความสำคัญก่อนหลังของ แต่ละมาตรการโดยปัจจัยดังกล่าวได้แก่ - เงินลงทุนที่มี - การเสี่ยงต่อความล้มเหลว - อายุของโรงงานปัจจุบัน - ผลตอบแทนการลงทุน - จำนวนคนงานที่ต้องการ - ระยะเวลาในการดำเนินการ - ความสำคัญต่อฝ่ายบริหารระดับสูง

25 การจัดทำร่างแผนการปฏิบัติการในการดำเนินการ โครงการอนุรักษ์พลังงาน
- เป้าหมายเชิงประสิทธิภาพ - ทรัพยากรที่ต้องใช้ - แผนดำเนินการ - เหตุผลสนับสนุนด้านเงินลงทุน - การประสานงานร่วมกับกิจกรรมอื่นที่ได้วางแผนไว้

26 7) การรวมแผนอนุรักษ์พลังงาน
7) การรวมแผนอนุรักษ์พลังงาน - แผนธุรกิจของเจ้าของอาคารหรือโรงงาน - โปรแกรมการผลิตที่กำหนดความสำคัญก่อนหลังต่าง ๆ - นโยบายการจัดซื้อปัจจุบัน - การริเริ่มให้มีการฝึกอบรม - การลงทุนตามแผนต่าง ๆ

27 ตัวอย่างการจัดทำรายงานสรุปผลเสนอฝ่ายบริหาร
มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์ 2.1 ตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงาน 2.2 หาแนวทางในการประหยัดพลังงานให้กับโรงงาน 2.3 ดำเนินกิจกรรมตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535

28 3. เป้าหมาย 3.1 ลดการใช้พลังงานด้านไฟฟ้าและเชื้อเพลิง 3.2 ลดต้นทุนในการผลิต 3.3 รักษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน 4. ขั้นตอนในการดำเนินงาน 4.1 ศึกษาและรวบรวมข้อมูลการใช้พลังงานของเครื่องจักร 4.2 รวบรวมข้อมูลการผลิต 4.3 ติดต่อที่ปรึกษาด้านพลังงาน 4.4 ที่ปรึกษาด้านพลังงานเข้าดำเนินการตรวจสอบและวัดการ ใช้พลังงาน

29 4.5 ที่ปรึกษาจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและวิเคราะห์การ
ใช้พลังงาน 4.6 ที่ปรึกษาจัดส่งรายงานให้โรงงาน 4.7 ศึกษาและสรุปผลจากรายงานการตรวจสอบและวิเคราะห์ การใช้พลังงาน 5. ระยะเวลาในการดำเนิน 6. งบประมาณที่ใช้ 7. บุคลากรที่ดำเนินงาน 8. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 9. งานทึ่ต้องดำเนินการต่อไป

30 ตารางแสดงมาตรการ การประหยัดพลังงาน ผลประหยัดที่ได้ การลงทุน และระยะเวลาคืนทุน
ผลประหยัด (บาท/ปี) การลงทุน ระยะเวลาคืนทุน (ปี) ( ปี ) 1. ด้านพลังงานความร้อน 1.1 การปรับปรุงประสิทธิภาพการ 188,454 60,000 0.22 เผาไหม้ของหม้อน้ำ 1.2 การหุ้มฉนวนอุปกรณ์ใช้ไอน้ำ 648,016 405,000 0.63 1.3 การนำแก๊สไอเสียมาอุ่นอากาศ 75,600 80,000 1.05 รวม 912,070 545,000 0.59

31 ตารางแสดงมาตรการ การประหยัดพลังงาน ผลประหยัดที่ได้ การลงทุน และระยะเวลาคืนทุน
( บาท / ปี ) ( ปี ) ( ปี ) 2. ด้านพลังงานความไฟฟ้า 2.1 การแก้ไขเพา เวอร์แฟคเตอร์ 88,532 300,000 3.39 2.2 การตัดหม้อแปลงไฟฟ้าออก 22,760 จากระบบ 2.3 การปรับปรุงระบบแสงสว่าง 8,900 10,250 1.15 รวม 120,192 310,250 2.58 รวมทั้งหมด 1,032,262 855,250 0.83

32 ตัวอย่างการควบคุมและติดตามผล
1. การติดตามผลและการกำหนดเป้าหมาย 2. กระบวนการตรวจวิเคราะห์การจัดการ 3. มุ่งสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. ดัชนีวัดผลการดำเนินการด้านพลังงาน

33 ตาราง (The Matrix) ระดับ ขอบเขต จุดประสงค์ ผลกระทบ
ระดับ ขอบเขต จุดประสงค์ ผลกระทบ A แบบสอบถาม สำรวจสภาพปัจจุบัน มุ่งให้เกิดการตื่นตัว B ทบทวน จัดลำดับปฏิบัติ สร้างความต้องการ เพื่อการเปลี่ยนแปลง C การสำรวจอย่างละเอียด การวัดผลเชิงปริมาณ กำหนดลำดับความ สำคัญของกิจกรรม ด้านพลังงาน

34 องค์กรหนึ่งๆ สามารถกำหนดค่าบนตารางซึ่งแต่ละระดับครอบคลุมประเด็นการจัดการที่แตกต่างกัน 6 ด้าน
 นโยบาย  การจัดองค์กร  การสื่อสาร  ข้อมูลข่าวสาร  การวางแผน  การตรวจวิเคราะห์ ผลลัพธ์ คือ รูปแบบขององค์กรเกี่ยวกับคุณสมบัติการจัดการทั้ง 6 ด้าน ชี้ให้เห็นถึงจุดแข็ง (คะแนนสูง) และจุดอ่อน (คะแนนต่ำ) ขององค์การได้เป็นอย่างดี

35 แนวทางการจัดการ พลังงานเบื้องต้น และ กรณีตัวอย่าง

36 1. การจัดการพลังงานความร้อน
1. การจัดการพลังงานความร้อน 1 การปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้ของหม้อน้ำ 2 การนำพลังงานที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ - เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดและบันทึกข้อมูล - วิธีการเก็บข้อมูล

37

38

39 การนำไอเสียมาอุ่นอากาศที่ใช้ในการเผาไหม้
ก๊าซไอเสียที่ปล่อยทิ้งออกทางปล่องไอเสียของหม้อน้ำ จะมี อุณหภูมิค่อนข้างสูงประมาณ oC ถ้านำก๊าซไอเสียนี้มาอุ่น อากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ หรือ นำมาอุ่นน้ำมันเตาที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง โดยการผ่านเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ก็จะเป็นการประหยัดพลังงาน แต่ทั้งนี้อุณหภูมิไอเสียที่ออกจากอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนจะต้อง มีอุณหภูมิไม่ต่ำมากเกินไปจนทำให้กำมะถันที่มีในไอเสียเกิดการกลั่น ตัวเป็นหยดน้ำและเป็นกรดกัดกร่อนอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน โดยปกติแล้วไม่ควรต่ำกว่า 150oC

40 2. กรณีตัวอย่างในการจัดการพลังงานความร้อนอย่างมีประสิทธิภาพ
(2.2.1) กรณีตัวอย่างการปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้ของหม้อน้ำ

41 88.51 ปริมาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้
= ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ x ( ประสิทธิภาพใหม่ - ประสิทธิภาพเก่า ) ประสิทธิภาพใหม่ = x ( ) 88.51 = ลิตร / ชั่วโมง

42 เวลาทำงานของหม้อไอน้ำ 24 ชั่วโมง / วัน 300 วัน / ปี
สารารถประหยัดเชื้อเพลิงได้ = x x ลิตร / ปี = , ลิตร / ปี คิดเป็นจำนวนเงินที่ประหยัดได้ = x 47, บาท / ปี = , บาท / ปี การลงทุน - ค่าอุปกรณ์ตรวจวัดและวิเคราะห์ไอเสีย ชนิดอิเล็คทรอนิค ราคาชุดละ 120,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี

43

44 3. การวิเคราะห์พลังงานทางเศรษฐศาสตร์
3. การวิเคราะห์พลังงานทางเศรษฐศาสตร์ 3.1 หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการลงทุนทางธุรกิจ สาเหตุหลักที่สถานประกอบการต้องการเงินลงทุน เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1 ) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติตามกฎหมาย 2 ) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการดำเนินธุรกิจ 3 ) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงสมรรถนะ

45 3.2 ขั้นตอนหลักในการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงิน
ขั้นตอนหลักในการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงิน เกณฑ์การวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงิน 1 ) ระยะเวลาคืนทุน

46 ตัวอย่าง การหาระยะเวลาคืนทุน
ตัวอย่าง การหาระยะเวลาคืนทุน โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง ต้องการนำก๊าซร้อนทิ้งจากไอเสีย มาใช้ในการอุ่นอากาศ สำหรับการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง โดยลงทุนติดตั้งอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน ท่อ และค่าแรงในการดำเนินงาน 80,000 บาทสามารถประหยัดพลังงานโดยคิดเป็นปริมาณ เชื้อเพลิง 4,500 ลิตร/ปี ราคา เชื้อเพลิง 7 บาท/ลิตร เงินลงทุนทั้งหมด = ,000 บาท ผลประโยชน์ที่ได้ = ,500 x 7 = ,500 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนทั้งหมด ผลการประหยัด = ,000 31,500 = ปี

47 3.3 การรวบรวม และบันทึกข้อมูล
ค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด Discounted Cash Flow : ( DCF ) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( Net Present Value : NPV ) อัตราผลตอบแทนการลงทุน ( Internal Rate of Return : ( IRR ) 3.3 การรวบรวม และบันทึกข้อมูล การรวบรวมและบันทึกข้อมูล (Collecting and Recording Information) การรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน การจัดหาข้อมูลด้านต้นทุนค่าใช้จ่าย การรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์ความเสี่ยงของโครงการ

48 3.4 ตัวอย่างการคำนวณผลตอบแทนด้านการเงิน
3.4 ตัวอย่างการคำนวณผลตอบแทนด้านการเงิน แนวทางการคำนวณสภาพการณ์ใน 3 กรณี คือ  ทุกอย่างเป็นไปตามที่ต้องการด้วยดีในทันที-กรณีสถานการณ์ดี กว่าปกติ  ทุกอย่างไม่เป็นไปตามที่ต้องการในทันที-กรณีสถานการณ์เลว  ทุกอย่างเป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ - กรณีสถานการณ์ปกติ

49 3.4.2 สมมติฐานในการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินโครงการ
การสร้างตารางกระแสเงินสด ระยะเวลาคืนทุน มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนการลงทุน (IRR)

50 3.5 การใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินเพื่อพัฒนาโครงการ
ให้ดียิ่งขึ้น (Using Appraisal Information to Develop a Better Project) ระยะเวลาคืนทุน ถึงแม้ระยะเวลาคืนทุนในทั้ง 3 กรณีที่กำหนดไว้จะให้ผลที่แตกต่างกัน มาก แต่ทุกกรณี๊ก็ยังมีระยะเวลาคืนทุนเกิน 2 ปี ซึ่งนานเกินกว่าการเกณฑ์การ คืนทุนที่บริษัทได้กำหนดไว้ ซึ่งเป็นผลให้ท่านอาจไม่สามารถนำเสนอโครงการ ได้นอกเสียจากว่าท่านต้องชักจูงให้ผู้บริหารเปลี่ยนใจ

51 อัตราผลตอบแทนการลงทุน (IRR)
ตัวอย่างที่ใช้แสดงนี้ชี้ให้เห็นข้อมูลอัตราผลตอบแทนการลงทุนที่โครงการจะได้รับในช่วงตั้งแต่กรณีที่ดีกว่าปกติและจนถึงกรณีที่เลวกว่าปกติ และท่านควรพยายามลดโอกาสการเกิดกรณีเลวกว่าปกติให้เหลือน้อยที่สุด มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) ถ้าบริษัทต้องการดูผลการวิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการแล้วท่านจะต้องมีข้อมูลที่ครบถ้วนเกี่ยวกับรายได้ของโครงการในระยะเวลาที่ทำการประเมินผลโครงการ

52 ระยะเวลาที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์โครงการ
ระยะเวลาการดำเนินโครงการเป็นสมมติฐานที่สำคัญในการวิเคราะห์โครงการที่ท่านนำเสนอ ตัวอย่างที่ใช้แสดงในที่นี้ใช้ระยะเวลาในการวิเคราะห์โครงการเป็น 6 ปี โดยทั่วไปการตรวจสอบผลการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินของโครงการที่เปลี่ยนแปลงไปตามอายุโครงการที่ต่างกันนั้นเป็นสิ่งที่มีประโยชน์มาก เนื่องจากอายุโครงการที่ต่างกันจะมีผลกระทบไม่มากต่อระยะเวลาคืนทุน แต่จะมีผลกระทบมากต่อค่า IRR และค่า NPV โดยพบว่าทั้ง IRR และ NPV จะมีค่าต่ำลงเมื่ออายุโครงการสั้น และจะมีค่าเพิ่มสูงขึ้นหากอายุโครงการยาวขึ้น

53 4. แบบตรวจสอบสำหรับการบริหารโครงการการจัดการด้านพลังงาน (Project Management Checklist)
แบบตรวจสอบสำหรับการจัดทำโครงการการจัดการด้านพลังงานที่นำเสนอไว้ในบทนี้ได้ สรุปถึงสิ่งที่ท่านจำเป็นต้องทำในการวางแผนและเตรียมการประเมินผลโครงการเบื้องต้น ท่านสามารถเพิ่มเติมหรือตัดหัวข้อในแบบตรวจสอบได้เพื่อให้สอดคล้องกับสิ่งที่ท่านต้องการหรือกับขั้นตอนวิธีปฏิบัติใน องค์กรของท่าน จากนั้นให้ท่านเก็บแบบตรวจสอบนี้ไว้ และใช้วิธีถ่ายเอกสารเพื่อนำไปใช้งานในแต่ละครั้ง

54 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการจัดการพลังงานความร้อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google