ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนพรัตน์ เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การจัดการความปลอดภัยการขนส่งทางท่อและวัตถุอันตราย
เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการ กอสส. การจัดการความปลอดภัยการขนส่งทางท่อและวัตถุอันตราย ( Pipeline and Hazardous Materials Safety Administration ) นำพูดคุยโดย รศ.ดร.เริงชัย ตันสกุล และนางสาวอรวรรณ แก้วโพธิ์คา วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงาน กอสส. ชั้น 10 อาคารสาธารณสุขวิศิษฏ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2
นิยามศัพท์ Pipeline ท่อ หมายความว่า ท่อรูปทรงกระบอก เป็นเส้นทางไหลผ่านของเหลวอันตราย หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง อ้างอิง : ELECTRONIC CODE OF FEDERAL REGULATIONS หัวข้อ 49 การขนส่ง : ส่วนที่ 195 การขนส่งของเหลวอันตรายทางท่อ Hazardous Materials การกำหนดวัตถุอันตราย โดยเลขาธิการจะต้องกำหนดวัตถุ (รวมถึง วัตถุระเบิด สารกัมมันตภาพรังสี สารติดเชื้อ ของเหลว ของแข็ง หรือก๊าซ ความเป็นพิษ สารออกซิไดซ์ หรือมีฤทธิ์กัดกร่อน และก๊าซความดัน) หรือกลุ่มหรือชั้นของวัตถุที่เป็นอันตราย ซึ่งการขนส่งวัตถุอันตรายอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ และความปลอดภัยต่อทรัพย์สิน อ้างอิง : US code หัวข้อ 49 การขนส่ง : หมวดที่ 51 การขนส่งวัตถุอันตราย 1
3
ประเทศสหรัฐอเมริกา Pipeline and Hazardous Materials Safety
Administration : PHMSA PHMSA เป็นหน่วยงานจัดการความปลอดภัยการขนส่งทางท่อและวัตถุอันตราย ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีหน้าที่พัฒนาและบังคับใช้กฎระเบียบเพื่อความปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีระบบการขนส่งทางท่อระยะทางกว่า 2.3 ล้านไมล์ และการจัดส่งวัตถุอันตรายต่างๆ ทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ 2
4
เป้าหมาย - ความปลอดภัย : เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเป็นอันตรายต่อผู้คน - การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม : เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม - ความน่าเชื่อถือ : เพื่อช่วยรักษาและปรับปรุงให้มีความน่าเชื่อถือของระบบการ ขนส่งพลังงานและวัตถุอันตรายอื่น ๆ - การเชื่อมต่อทั่วโลก : เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งที่มีประสิทธิภาพและ ปลอดภัย - การเตรียมพร้อมและการตอบสนอง : เพื่อลดผลกระทบ (เป็นอันตรายต่อคน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ) 3
5
แผนที่ท่อในประเทศสหรัฐอเมริกา
แผนที่ท่อในประเทศสหรัฐอเมริกา ณ เดือนกันยายนปี 2015 สีแดงเป็นของเหลวที่เป็นของเหลวซึ่งรวมถึงน้ำมันดิบ ที่มา : 4
6
สำนักงานความปลอดภัยการขนส่งทางท่อ
( Office of Pipeline Safety ) เป็นการดูแลระบบท่อขนส่งถึง 2.3 ล้านไมล์ (3,701,491 กิโลเมตร) ซึ่งเป็นการขนส่งก๊าซธรรมชาติ และของเหลวอันตราย ที่มา : สำนักงานความปลอดภัยวัตถุอันตราย( Office of Hazardous Materials Safety) เป็นการดูแลการขนส่งวัตถุอันตรายทางอากาศ ทางรถไฟ ทางหลวง และทางน้ำ 5
7
สำนักงานความปลอดภัยการขนส่งทางท่อ ( Office of Pipeline Safety )
ดูแลระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัยของท่อ ดูแลการดำเนินงานของระบบท่อในการจัดการความเสี่ยง ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางสำหรับการศึกษาความปลอดภัยของท่อ และรายงานผล พัฒนาและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐบาลกลางและท้องถิ่น เพื่อแก้ไขปัญหา ให้มีความน่าเชื่อถือ และความรับผิดชอบต่อระบบท่อขนส่ง ให้มีความปลอดภัย ที่มา : 6
8
สำนักงานความปลอดภัยวัตถุอันตราย ( Office of Hazardous Materials Safety)
พัฒนากระบวนการและระเบียบเกี่ยวกับการขนส่งวัตถุอันตรายโดยทางรถไฟ ทางหลวง เครื่องบิน หรือเรือ ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค และการสนับสนุนเกี่ยวกับความปลอดภัยในการขนส่งวัตถุอันตรายแก่รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น พัฒนานโยบายด้านกฎระเบียบ การวางแผน วิจัย วิเคราะห์ และข้อมูลด้านสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย ข้อบังคับ กฎหมาย หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งวัตถุอันตราย รวบรวมและประมวลผลข้อมูลเหตุการณ์ ที่มา : 7
9
อ้างอิง : Code of federal regulations
กฎระเบียบ PHMSA มีหน้าที่รับผิดชอบในการควบคุม และสร้างความมั่นใจในการเคลื่อนย้ายวัตถุอันตรายไปยังอุตสาหกรรม และผู้บริโภคโดยการขนส่งทุกรูปแบบรวมทั้งท่อ สำนักงานเพื่อความปลอดภัยของวัตถุอันตราย กฎระเบียบของรัฐบาลกลาง (หัวข้อ 49 การขนส่ง ส่วนที่ ) ข้อกำหนด การตอบสนองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การฝึกอบรมและแผนการรักษาความปลอดภัย สำนักงานความปลอดภัยการขนส่งทางท่อ กฎระเบียบของรัฐบาลกลาง (หัวข้อ 49 การขนส่ง ส่วนที่ ) การบังคับใช้และขั้นตอนการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัย มาตรฐานความปลอดภัย อ้างอิง : Code of federal regulations 8
10
องค์ประกอบ ใบอนุญาตพิเศษและการอนุมัติ ความปลอดภัย
การเตรียมความพร้อมและตอบสนอง การรายงานเหตุการณ์ โครงการของรัฐและเงินทุน องค์ประกอบ 9
11
ที่มา : https://www.phmsa.dot.gov/special-permits-approvals
ใบอนุญาตพิเศษและการอนุมัติ PHMSA มีหน้าที่หลักในการออกใบอนุญาตและการ อนุมัติ สำหรับท่อส่งก๊าซธรรมชาติและของเหลวที่เป็นอันตราย เช่น การอนุมัติ/อนุญาตการขนส่งวัตถุอันตราย (วัตถุระเบิด) ที่มา : 10
12
ความปลอดภัย PHMSA มีความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค ความปลอดภัย และมีคู่มือการรักษาความปลอดภัยโดยใช้เพื่อประเมินความเสี่ยง การกำหนดระดับความเสี่ยงและการ จัดการความเสี่ยง เป็นต้น ที่มา : 11
13
การเตรียมความพร้อมและการตอบสนอง
สิ่งสำคัญที่จะต้องตระหนักถึง คือ การเตรียมตัวให้พร้อม การวางแผน การฝึกอบรมความปลอดภัย การเพิ่มขีดความสามารถของคน การช่วยเหลือในเหตุฉุกเฉิน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่งทางท่อ เพื่อให้มั่นใจว่ามีการเตรียมพร้อม และการตอบสนองเพื่อรับมือกับวัตถุอันตรายหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับท่อขนส่ง เจ้าหน้าที่ฉุกเฉินในพื้นที่ มีหน้าที่รับผิดชอบในการวางแผน ประสานงาน และดำเนินการเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉิน และการตอบสนองต่อเหตุการณ์ ที่มา : 12
14
การรายงานเหตุการณ์ PHMSA จะรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้ง รวมทั้งตำแหน่ง สาเหตุ และผลกระทบ เพื่อประเมินแนวโน้มด้านความปลอดภัยและนำมาพัฒนาโครงการใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในระบบการขนส่ง ที่มา : 13
15
โครงการของรัฐและเงินทุน
โครงการเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉินเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ( HMEP) ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน และทางเทคนิค คำแนะนำ การวางแผน แผนฉุกเฉิน และการฝึกอบรมในเรื่องเหตุฉุกเฉิน โครงการทุนสนับสนุนก๊าซธรรมชาติและของเหลวอันตราย ได้แก่ การมอบทุนสนับสนุนแก่หน่วยงานของรัฐที่ได้รับการรับรองในโครงการความปลอดภัยในท่อขนส่งก๊าซ ที่มา : /grants-state-programs 14
16
Our vision is to make PHMSA the most innovative transportation safety organization in the world
15
17
ประเทศไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎกระทรวง เรื่อง ระบบการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติ เรื่องวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติ เรื่อง ควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๕๒ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อและเครื่องหมายแสดงเขต พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการติดตั้งป้ายหรือเครื่องหมายเตือนแนวท่อส่งก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ถังเก็บน้ำมัน ระบบท่อน้ำมัน และอุปกรณ์ของคลังน้ำมัน พ.ศ. ๒๕๕๗ ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กําหนด วิธีการและเงื่อนไขในการขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ. ๒๕๕๕ 16
18
การขนส่งทางท่อ ก๊าซธรรมชาติและน้ำมันเชื้อเพลิง กระทรวงพลังงาน
กรมธุรกิจพลังงาน วัตถุอันตราย กระทรวงอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม ที่มา index.php?topic=7696.0 17
19
Administration. Retrieved July 3, 2017, from https://www.phmsa.dot.gov
เอกสารอ้างอิง U.S. Department of Transportation. (2014). Pipeline and Hazardous Materials Safety Administration. Retrieved July 3, 2017, from U.S. Government publishing office. (2017). ELECTRONIC CODE OF FEDERAL REGULATIONS. Retrieved July 24, 2017, from bin/textidx?SID=1d49a3b137cb1b6fc e634b44&c=ecfr&tpl =/ecfrbrowse/Title49/49cfrv3_02.tpl Wikipedia. (2017). Pipeline and Hazardous Materials Safety Administration. Retrieved July 3, 2017, from Hazardous_Materials_Safety_ Administration 18
20
Thank you!
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.