ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสิริกิติ์ พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559
2
ผลงานโครงการ ปี 2558แผนงานโครงการ ปี 2559 1.โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง 2.โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษา เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนด้วยคุณภาพ และมาตรฐานให้มีสมรรถนะและ ความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน 3.โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 3.โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษา 4.โครงการพัฒนาศักยภาพงานนิเทศ อาชีวศึกษา 4.โครงการเร่งรัดพัฒนาประสิทธิภาพการ นิเทศอาชีวศึกษา 5.โครงการพัฒนาการใช้ภาษาของผู้เรียน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา (ค่ายวิชาการ: อาชีวะ รุ่นใหม่ใช้ภาษาไทยอย่างมืออาชีพ) 5.โครงการนิเทศพัฒนาคุณภาพการใช้ ภาษาไทยของผู้เรียนอาชีวศึกษา 1หน่วยศึกษานิเทศก์
3
ผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2558 หน่วยศึกษานิเทศก์
4
หน่วยศึกษานิเทศก์ 1. โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง กิจกรรม 1 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาชุดการเรียนรู้ ภาษาไทย สังคมศึกษาและทักษะชีวิต :พัฒนาครูผู้สอนหมวดวิชาทักษะชีวิต 6 กลุ่มวิชาในการจัดทำชุดการเรียนรู้ : ผลิตเอกสารชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ระดับ ปวส. 2557 หมวดวิชาทักษะ ชีวิต 8 รายวิชา 21 หน่วยกิต เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้สำหรับ นักศึกษาระดับ ปวส.ทุกประเภทวิชาที่จัดการศึกษารูปแบบการศึกษาระบบ ทวิภาคีได้เรียนรู้ด้วยตนเอง กิจกรรม 2 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย : พัฒนาครูแกนนำผู้สอนรายวิชาภาษาไทย :จัดทำ e-Lesson Plan เพื่อเผยแพร่แก่สถานศึกษาอาชีวศึกษา
5
หน่วยศึกษานิเทศก์ โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
6
หน่วยศึกษานิเทศก์ โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง กิจกรรม 3 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ : พัฒนาครูผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ : จัดทำสื่อการสอนวิชาประวัติศาสตร์เพื่อการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
7
หน่วยศึกษานิเทศก์ โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง กิจกรรม 4 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง : จัดทำคู่มือครูวิชาหน้าที่พลเมืองและ ศีลธรรม จำนวน 1,000 เล่ม เพื่อ เผยแพร่แก่สถานศึกษาให้ครูผู้สอน ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ :ประชุมปฏิบัติการแนะนำการใช้คู่มือครู และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาหน้าที่ พลเมืองและศีลธรรม แก่ผู้สอนใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาทุกแห่ง
8
หน่วยศึกษานิเทศก์ 2. โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ด้วยคุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อม เข้าสู่ตลาดแรงงาน กิจกรรม 1 ประชุมปฏิบัติการพัฒนารูปแบบและการจัดการเรียนรู้แบบ โครงการเป็นฐาน PjBL โดยใช้ใบช่วยสอนและ การประเมินตามสภาพจริง :จัดทำเอกสารแนะนำแนวทางจัดการเรียนรู้แบบโครงการ เป็นฐาน :พัฒนาครูผู้สอนในสถานศึกษานำร่อง 5 ภาค ๆ ละ 5 แห่ง รวม 25 แห่ง แห่งละ 1-2 แผนกวิชา กิจกรรม 2 ประชุมปฏิบัติการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใน สถานศึกษา : พัฒนาครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ อศจ. ละ 2-3 คน รวม 160 คน
9
หน่วยศึกษานิเทศก์ โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ด้วยคุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อม เข้าสู่ตลาดแรงงาน กิจกรรม 3 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรนอกระบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ :พัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น :พัฒนาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 4 ประเภทวิชา (อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ศิลปกรรมและคหกรรม) รวมประมาณ 500 หลักสูตร เพื่อเผยแพร่แก่สถานศึกษา นำไปใช้ในการจัดฝึกอบรมวิชาชีพ กิจกรรม 4 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาโครงการสอนวิชาชีพเน้นสมรรถนะวิชาชีพ : พัฒนาครูผู้สอนวิชาชีพเฉพาะ หลักสูตร ปวช. 2556 จำนวน 6 สาขาวิชา :จัดทำโครงการสอนรายวิชาชีพเฉพาะ สาขาวิชาอุตสาหกรรมยาง การโรงแรม การท่องเที่ยว เกษตรศาสตร์ แฟชั่นและสิ่งทอ อาหารและ โภชนาการ
10
หน่วยศึกษานิเทศก์ โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ด้วยคุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อม เข้าสู่ตลาดแรงงาน กิจกรรม 5การนิเทศการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา :ศึกษานิเทศก์ส่วนกลางและศูนย์ฯ ภาค ร่วมออกนิเทศสถานศึกษาอาชีวศึกษา 5 ภาค เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการ การนำเอกสารวิชาการของ หน่วยศึกษานิเทศก์ไปใช้ นิเทศแนะนำการจัดการเรียนการสอน และรับฟังปัญหา ข้อคิดเห็นเสนอแนะ
11
หน่วยศึกษานิเทศก์ 3. โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา กิจกรรม 1 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลแก่ผู้เรียนอาชีวศึกษา :พัฒนาเกณฑ์การประเมินและแบบประเมิน : ผลิตเอกสาร 1,000 เล่ม เพื่อเผยแพร่แก่สถานศึกษา นำไปบูรณาการในการจัดการเรียนรู้และประเมินผล กิจกรรม 2 ประชุมปฏิบัติการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมผู้เรียนเพื่อ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา : พัฒนาเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลตามมาตรฐานการ อาชีวศึกษาและเครื่องมือเก็บข้อมูลมาตรฐานที่ 6 ด้าน การปลูกฝังจิตสำนึกฯ ตามมาตรฐาน :จัดทำเอกสาร 1,000 เล่ม เพื่อเผยแพร่แก่สถานศึกษา อาชีวศึกษานำร่อง 15 แห่ง
12
หน่วยศึกษานิเทศก์ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา กิจกรรม 3 ประชุมปฏิบัติการพัฒนางานแนะแนวและระบบดูแลผู้เรียน อาชีวศึกษา :พัฒนาครูแนะแนวและเครือข่าย 180 คน ให้มีศักยภาพ ด้านการเชื่อมโยงระบบการดูแลผู้เรียนกับฝ่ายต่าง ๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม 4 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา : สถานศึกษาต้นแบบ 15 แห่ง รับการพัฒนาพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
13
หน่วยศึกษานิเทศก์ 4. โครงการพัฒนาศักยภาพงานนิเทศอาชีวศึกษา กิจกรรม 1การจัดทำสื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อาชีวศึกษา : พัฒนาและบรรณาธิการกิจเอกสารการจัดการเรียนการสอน : ผลิตหนังสือ สื่อ เอกสารวิชาการเพื่อเผยแพร่แก่สถานศึกษาและหน่วยงาน กิจกรรม 2การพัฒนาศักยภาพในศึกษานิเทศก์ในงานนิเทศอาชีวศึกษา :ศึกษานิเทศก์ 49 คนได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพในงานนิเทศและ แลกเปลี่ยนทัศนะด้านการนิเทศอาชีวศึกษา
14
หน่วยศึกษานิเทศก์ 5. โครงการพัฒนาการใช้ภาษาของผู้เรียน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ค่ายวิชาการ: อาชีวะรุ่นใหม่ใช้ภาษาไทยอย่างมืออาชีพ)
15
แผนการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2559 หน่วยศึกษานิเทศก์ หน่วยศึกษานิเทศก์
16
แผนงานโครงการ ปี 2559 1.โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง 2.โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนด้วย คุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน 3.โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา 4.โครงการเร่งรัดพัฒนาประสิทธิภาพการนิเทศอาชีวศึกษา 5.โครงการนิเทศพัฒนาคุณภาพการใช้ภาษาไทยของผู้เรียนอาชีวศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
17
แผนการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2559 หน่วยศึกษานิเทศก์ 1. โครงการปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง กิจกรรม 1 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย :จัดทำคู่มือครูวิชาภาษาไทยพื้นฐาน หลักสูตร ปวช. 2556 : ผลิตเอกสารคู่มือครู วิชาภาษาไทยพื้นฐาน 1,000 เล่ม เพื่อเผยแพร่แก่ สถานศึกษานำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ :พัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยพื้นฐานในสถานศึกษาต้นแบบนำร่อง กิจกรรม 2 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น :จัดทำคู่มือครู วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย หลักสูตร ปวช. 2556 :ผลิตเอกสารคู่มือครูวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย 1,000 เล่ม เพื่อเผยแพร่แก่ สถานศึกษานำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ กิจกรรม 3 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง : พัฒนาครูผู้สอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาหน้าที่พลเมือง ในสถานศึกษานำร่อง 25 แห่ง
18
แผนการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2559 หน่วยศึกษานิเทศก์ 2. โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนด้วย คุณภาพและมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน กิจกรรม 1 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน : PjBL : พัฒนาครูผู้สอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการเป็น ฐาน : PjBL โดยขยายผลในสถานศึกษาให้ครบทุกประเภทวิชา :ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำเสนอ Best Practice กิจกรรม 2 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) : พัฒนารูปแบบและการใช้แฟ้มสะสมผลงาน เพื่อเผยแพร่ขยายผลสู่การ นำไปใช้ในสถานศึกษา
19
แผนการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2559 หน่วยศึกษานิเทศก์ 3. โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษา กิจกรรม 1 ประชุมปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ของผู้เรียนตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ :ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำเสนอ Best Practice กิจกรรม 2 ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ กิจกรรม 3 ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการนำเสนอผลงานสถานศึกษาต้นแบบนำร่อง ด้านการส่งเสริมคุณธรรมฯ กิจกรรม 4 ผลิตเอกสารประกอบการสอนด้านคุณธรรม จริยธรรมฯ
20
แผนการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2559 หน่วยศึกษานิเทศก์ 4. โครงการเร่งรัดพัฒนาประสิทธิภาพการนิเทศอาชีวศึกษา
21
หน่วยศึกษานิเทศก์
22
ความเดิม แนวทางการจัดการศึกษาสายวิชาชีพ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
23
รูปแบบที่ 1 สอศ. ส่งครูมาสอนใน โรงเรียนมัธยมศึกษา รูปแบบที่ 2 โรงเรียน มัธยมศึกษาส่งนักเรียน ไปเรียนในสถานศึกษา สังกัด สอศ. ลงทะเบียน เป็นนักเรียน สังกัด สอศ. เรียนหลักสูตร ปวช. สำเร็จการ ศึกษาได้ วุฒิ ปวช. ในสถานศึกษา สังกัด สอศ. ลักษณะที่ 1 ลงทะเบียนเป็นนักเรียนสังกัด สอศ. หน่วยศึกษานิเทศก์
24
รูปแบบที่ 1 เรียน รายวิชาชีพเพิ่มเติม เพื่อเทียบโอนเข้าสู่ หลักสูตร ปวช.โดย เรียนเพิ่มไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน รูปแบบที่ 2 เรียน รายวิชาปรับพื้น นำมาใช้เทียบโอน เรียน ปวส. 2 ปี ลงทะเบียน เป็นนักเรียน ในโรงเรียน มัธยมศึกษา ได้วุฒิ ม.ปลาย เทียบโอนเข้าสู่ หลักสูตร ปวช. เรียนเพิ่มอีก 1 ภาคเรียน เรียน ปวส.2 ปี ไม่ต้องเรียน ปรับพื้นฐาน ลักษณะที่ 2 ลงทะเบียนเป็นนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา เรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยเรียนราวิชา ปวช. เพิ่ม หน่วยศึกษานิเทศก์
25
นำหลักสูตร ปวช. ของ สอศ. มาเปิดสอน โดย จะต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์การขอเปิด สอนระดับ ปวช. ใน โรงเรียนมัธยมศึกษา ลงทะเบียน เป็นนักเรียน ในโรงเรียน มัธยมศึกษา สำเร็จ การศึกษา ได้วุฒิ ปวช. ลักษณะที่ 3 เปิดสอนหลักสูตร ปวช. ในโรงเรียนมัธยมศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
26
เลือกกลุ่มวิชา/รายวิชาสะสมหน่วยกิตสอดรับกับสาขาวิชา/สาขางาน วางแผนกำหนดการเรียนในแต่ละภาคเรียน/จำนวนรายวิชา สะสมเป็นรายวิชาระยะสั้น / รายวิชาเตรียม ปวช. / รายวิชาเตรียม ปวส. กำหนดประเภทวิชา กำหนดสาขาวิชา/สาขางาน นำรายวิชาที่เรียนสะสมหน่วยกิตมาเทียบโอนเมื่อเข้าเรียน ปวช. / ปวส. การจัดการเรียนการสอนรายวิชาสะสมหน่วยกิต สอศ. หน่วยศึกษานิเทศก์
27
กรอบแนวคิดในการจัดการศึกษา : โครงการเรียนร่วม กรอบแนวคิดในการจัดการศึกษา : โครงการเรียนร่วม หลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) หลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) หน่วยศึกษานิเทศก์
28
เป็นการจัดการศึกษาทางเลือกสำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ที่มีความประสงค์จะเรียนควบคู่กันไปทั้งสายสามัญและ สายอาชีพ เมื่อครบตามหลักสูตรผู้เรียนสามารถสำเร็จการศึกษาทั้ง หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายและสายอาชีพไปพร้อมกัน ทั้งนี้ได้มี การกำหนดการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีทำความตกลงร่วมมือกัน ระหว่างสถานศึกษาที่เปิดสอนมัธยมศึกษากับสถานศึกษาที่เปิดสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ “ทวิศึกษา” ? หน่วยศึกษานิเทศก์
29
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน - ขยายโอกาส/ตระเวนชายแดน - ราชประชานุเคราะห์ - การศึกษาสงเคราะห์ - สถานศึกษาที่มีนักเรียนต้องการเรียน 2 ระบบ - สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย - สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน - สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
30
1. เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษแก่ประชาชน วัยเรียนและวัยทำงาน 2. เพื่อขยายกลุ่มเป้าหมายไปสู่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายในการเข้าสู่หลักสูตรอาชีวศึกษา 3. เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายที่มีความประสงค์จะเรียนควบคู่ไปกับหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) วัตถุประสงค์ หน่วยศึกษานิเทศก์
31
วิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตร ปวช. : ม.ปลาย 1. ความแตกต่างในเรื่องของเป้าหมาย หลักการและวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร 2. ความแตกต่างในเรื่องของจำนวนหน่วยกิตในแต่ละโครงสร้าง หลักสูตร 3. ความแตกต่างในเรื่องการคำนวณค่าหน่วยกิต 4. ต้องการผลิตบุคลากรให้สามารถประกอบอาชีพในท้องถิ่นได้ 5. ครุภัณฑ์ขั้นต่ำในการขอเปิดสอน และบุคลากรประจำสาขาที่ เปิดสอน 6. กฎหมายที่รองรับการดำเนินการทวิศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
32
การเป็นนักเรียน การสมัคร/ใบสมัคร การขึ้นทะเบียน การเรียนการสอน วิธีการเรียนตาม เงื่อนไขความร่วมมือ ของสถานศึกษา ทั้งสองสถานศึกษา มีการรับรองรายวิชา เทียบโอนร่วมกัน ความร่วมมือ ระดับนโยบาย ระดับสถานศึกษา ประกาศ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข นิเทศติดตาม และประเมินผล สำเร็จการศึกษา ได้รับ 2 วุฒิการศึกษา ม.ปลาย และ ปวช. สาขาวิชา... ขั้นตอนโครงการเรียนร่วมหลักสูตร (ทวิศึกษา) หน่วยศึกษานิเทศก์
33
วิเคราะห์โครงสร้าง ปวช. : ม.ปลาย สพฐ. 1.รายวิชาพื้นฐาน 41 1.1 ภาษาไทย 6 1.1 ภาษาไทย 6 1.2 ภาษาต่างประเทศ 6 1.2 ภาษาต่างประเทศ 6 1.3 วิทยาศาสตร์ 6 1.3 วิทยาศาสตร์ 6 1.4 คณิตศาสตร์ 6 1.4 คณิตศาสตร์ 6 1.5 สังคมศึกษา 8 1.5 สังคมศึกษา 8 1.6 สุขศึกษาและพละศึกษา 3 1.6 สุขศึกษาและพละศึกษา 3 1.7 ศิลปะ 3 1.7 ศิลปะ 3 1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 2. รายวิชาเพิ่มเติม >40 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 360 ชม. 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 360 ชม. รวมไม่น้อยกว่า 81 รวมไม่น้อยกว่า 81 หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 51 1.หมวดวิชาทักษะชีวิต >22 กลุ่มวิชาภาษาไทย 3กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 6 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 4 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 3 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 2 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ>71 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน (18) 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน (18) 2.2 วิชาชีพเฉพาะ (24) 2.3 วิชาชีพเลือก (>21) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4) 3.หมวดวิชาเลือกเสรี>10 4.กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ชม./สัปดาห์ รวมไม่น้อยกว่า 103 รวมไม่น้อยกว่า 103 หลักสูตร ปวช. 56 หน่วยศึกษานิเทศก์
34
ร่วมกันวางแผน จัดทำหลักสูตร สถานศึกษา สพฐ.และ กศน. โดยใช้รายวิชา พื้นฐาน สพฐ. 41 นก. หรือ รายวิชาบังคับ กศน. 44 นก. รวมกับหมวด วิชาทักษะวิชาชีพ ในหลักสูตร ปวช. จำนวน 71 นก. สถานศึกษาใน สังกัด สพฐ./กศน และสอศ. ร่วมกันวิเคราะห์ ความต้องการ กำลังคนในพื้นที่ กับหลักสูตร ปวช. ประเภทวิชา สาขาวิชา/สาขางาน จัดทำแผนการเรียน ตารางสอนและ จัดการเรียนการสอน โดยจัดการเรียนรู้ ในสองสถานศึกษา ส่งผลการเรียน ซึ่งกันและกัน สำเร็จการศึกษา หลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในสถานศึกษา สพฐ. หรือ กศน. การจัดการหลักสูตรสถานศึกษา (ทวิศึกษา) สำเร็จการศึกษา หลักสูตร ปวช. ในสถานศึกษา สังกัด สอศ. ที่ทำความร่วมมือ หน่วยศึกษานิเทศก์
35
แนวพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลาย สพฐ. : ปวช.56 ประเภทวิชา/สาขาวิชา 1. รายวิชาพื้นฐาน 41 (สอนโดยสถานศึกษา สพฐ.โอนเข้าทักษะชีวิต/เสรี) 1.1 ภาษาไทย 6 1.2 ภาษาต่างประเทศ 6 1.3 วิทยาศาสตร์ 6 1.4 คณิตศาสตร์ 6 1.5 สังคมศึกษา 8 1.6 สุขศึกษาและพละศึกษา 3 1.7 ศิลปะ 3 1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี3 2. รายวิชาเพิ่มเติม (สอนโดยสถานศึกษา สอศ.ที่ร่วมมือจัด 71 นก.) หมวดทักษะวิชาชีพ ตามประเภทวิชา/สาขาวิชา ใน ปวช. 56 หมวดทักษะวิชาชีพ ตามประเภทวิชา/สาขาวิชา ใน ปวช. 56 2.1วิชาชีพพื้นฐาน(18) 2.1วิชาชีพพื้นฐาน(18) 2.2วิชาชีพเฉพาะ (24) 2.2วิชาชีพเฉพาะ (24) 2.3วิชาชีพเลือก (>21) 2.3วิชาชีพเลือก (>21) 2.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4) 2.4ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4) 2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4) 2.5โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4) 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 360 ชม. (สอนโดยสถานศึกษา สพฐ.โอนเข้ากิจกรรมเสริม) รวมไม่น้อยกว่า 112 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 112 หน่วยกิต ตามโครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
36
แผนการเรียน ตามโครงสร้างหลักสูตรคู่ขนาน ม.ปลาย (สพฐ.) : ปวช.56 = 112 หน่วยกิต 6 7 77 77 หมายเหตุ : รายวิชาฝึกงาน 4 นก.ใช้ฝึกทักษะประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ ในช่วงภาคฤดูร้อน. 12 1110 18 19 1817 4 หน่วยศึกษานิเทศก์ 2. รายวิชาเพิ่มเติม ใช้หลักสูตร ปวช.56 หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ (ปวช.) 67+4 นก. 1. รายวิชาพื้นฐาน (สพฐ.) 41 นก.
37
1) การทำความเข้าใจร่วมกัน “ ทวิศึกษา ” 2) การรับสมัครเข้าเรียนในโครงการ 3) การขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนในโครงการ แจ้งรายชื่อ หน่วยนับ 2 สถานศึกษา 4) การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา แผนการเรียน ตารางสอน และวิธีการในการ จัด การศึกษาบนพื้นฐานคุณภาพการจัดการศึกษาทั้งสองฝ่าย 5) ครู - การจัดการเรียนการสอน / การประเมินผล และการส่งผลการเรียนคู่ขนาน 6) การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ 7) การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน / กิจกรรมเสริมหลักสูตร 8) การประเมินมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา......... 9) การอนุมัติผลการเรียน และการออกหลักฐานสำเร็จการศึกษา ภารกิจที่ต้องวางแผนร่วมกัน........... หน่วยศึกษานิเทศก์
38
natoon2000@gmail.co m หน่วยศึกษานิเทศก์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.