ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยไพฑูรย์ บุตโต ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การค้นคืนสารสนเทศ สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น คืนสารสนเทศ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล 16 กรกฎาคม 2548
2
ความเชื่อมโยงระหว่างการจัดเก็บ และการค้นคืน การจัดเก็บเพื่อประโยชน์ของการ ใช้และการเข้าถึงสารสนเทศ การจัดเก็บ มุ่งจัดโครงสร้างในทาง – กายภาพ เช่น รหัสหมวดหมู่ ดรรชนีเชื่อมโยงไปยังที่จัดเก็บ สารสนเทศ ( แฟ้มข้อมูล ) – เนื้อหา เช่น ศัพท์ดรรชนี สาระสังเขป
3
การค้นคืนและการค้น ( หา ) การค้นคืน (retrieval) เป็น การค้น เพื่อให้ได้ผลการค้นตามต้องการ มุ่งเน้น ที่ผลการค้นเป็นสำคัญ การค้น การค้นหา (searching) เป็น กระบวนการค้น เช่น การค้นจากหนังสือ การค้นจากฐานข้อมูลโดยใช้ชื่อผู้แต่ง ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval System – ISAR system) ระบบค้นคืน สารสนเทศ (Information Retrieval System – IR system) ระบบจัดเก็บและค้นหาสารสนเทศ ใช้ น้อย ( จากวรรณกรรม )
4
การค้นคืนสารสนเทศ การค้นคืน วิธีการค้นหาแบ่งออกเป็น –browsing หรือ การสำรวจเลือกดู –searching หรือ analytical search หรือ การค้นด้วยคำหรือ ลักษณะของสารสนเทศ เช่น สี ขนาด จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืน สารสนเทศที่ “ เข้าเรื่อง ” (relevance) หรือ “ ตรงกับความ ต้องการ ” (pertinence)
5
ความซับซ้อนของการจัดเก็บและ การค้นคืน สารสนเทศ สารสนเทศปริมาณมาก สารสนเทศในรูปแอนะล็อก และ ดิจิทัล สารสนเทศต่างรูปลักษณ์หรือรูปแบบ (format) เช่น เอกสาร บทความ หนังสือ วารสาร แผ่นพับ สารสนเทศต่างประเภท เช่น เสียง ภาพลักษณ์ ภาพกราฟิก และ ข้อความ
6
ข้อคำถาม มักอยู่ใน รูป คำศัพท์ และ เทคนิค ศัพท์ ดรรชนี แทน สารสนเทศ ที่สะสมไว้ เปรียบเทียบ หรือ จับคู่ ผลการค้นคืน หลักการพื้นฐานของการค้นคืน
7
ตัวแบบการค้น ตัวแบบการค้น เป็น หลักการหรือ แนวคิดในการพิจารณาการจับคู่หรือ เปรียบเทียบ ระหว่างข้อคำถาม และดรรชนีแทนสารสนเทศที่สะสม ไว้ ให้สามารถค้นคืนสารสนเทศที่ เข้าเรื่องหรือตรงกับความต้องการ ตัวแบบบูเลียน (Boolean model) เป็นการจับคู่แบบตรงกันระหว่าง ศัพท์ดรรชนีและคำค้น
8
ตัวแบบการค้น (2) ตัวแบบเวกเตอร์ แทนเอกสารและข้อคำถามในรูป เวกเตอร์ ( คณิตศาสตร์ ) โดย กำหนดค่าน้ำหนักของคำ ด้วย ความถี่ของคำที่ปรากฎในเอกสาร และคำที่ปรากฎในฐานข้อมูล ( มวล เอกสาร )
9
ตัวแบบการค้น (3) ตัวแบบความน่าจะเป็น จัดลำดับเอกสารในมวลทรัพยากร สารสนเทศตามความน่าจะเป็นด้าน ความเข้าเรื่องของแต่ละเอกสารกับ ข้อคำถาม โดยเรียงลำดับจากมาก ไปหาน้อย
10
การวิจัยและการพัฒนา แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ – เชิงเทคนิค การจับคู่ได้มี ประสิทธิภาพขึ้น การทำดรรชนี หรือสาระสังเขปอัตโนมัติ – เชิงผู้ใช้และการใช้ ไม่มุ่งเน้น เฉพาะการจับคู่หรือเทคนิคเท่านั้น >> ระบบจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศที่มุ่งประโยชน์เพื่อการ จัดเก็บที่มีประสิทธิภาพและการใช้ ที่ตรงตามความต้องการ
11
ห้องสมุดดิจิทัล องค์ประกอบสำคัญ คือ มวลทรัพยากรในรูปดิจิทัล กระบวนการจัดเก็บ บริการสารสนเทศ ผู้ใช้ เทคโนโลยี
12
ห้องสมุดดิจิทัล สิ่งพิมพ์วิชาการ : การเผยแพร่และ การเข้าถึง ปัญหาความคงทน การสร้าง URN ที่เข้าถึงได้โดยไม่ ใช้ URL เสถียรภาพ หรือ ความคงที่ การจัดการเวอร์ชัน และ การจัดทำ จดหมายเหตุหรือที่เก็บเอกสารเก่าที่ มีคุณค่า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.