ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวรนุช นามมั่น ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย. ม. ( การพยาบาลผู้สูงอายุ ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
2
วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการ สอนแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุทั้งปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอกได้ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้าน ร่างกายและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในผู้สูงอายุได้ 3. วางแผนการพยาบาลผู้สูงอายุที่มี การเปลี่ยนแปลง ด้าน ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพได้
3
1. ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ ปัจจัยภายใน สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ปัจจัยภายนอก การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณ การทำงาน
6
ระบบผิวหนัง ↓ ต่อมเหงื่อ ↑ ความ ร้อนใน ร่างกาย ↓ เส้นเลือดฝอย ↓ อาการแสดง ของการอักเสบ ↓ ต่อมไขมัน ↑ ผิว แห้ง
7
↓ ความยืดหยุ่น
8
ผมหงอก และบางลง เหี่ยวย่น ตกกระ จาก แสง UV
10
Normal AD APNFT AP = amyloid plaques NFT = neurofibrillary tangles Courtesy of George Grossberg, St Louis University, USA Neuropathological Changes Characteristic of Alzheimer disease
11
การเปลี่ยนแปลงในระบบ ต่างๆ ระบบประสาท เซลล์ประสาท น้ำหนักสมอง การเชื่อมโยงของ เส้นประสาท ขนาดของเส้นประสาท
12
สารต่าง ๆ ในสมอง Dopamine ----> พาร์คิน สัน Serotonin ----> ซึมเศร้า Acetylcholine ----> ขี้ ลืม
13
ตื่นง่าย ระยะหลับลึก สั้น ความสามารถในการ จำ ลดลง การทรงตัว และการ เดินไม่ดี
14
ระบบตา ปรับสายตาในที่มืดไม่ดี ---> หก ล้ม มองใกล้ - ไกลไม่ชัด (Presbyopia) -------- > สายตาผู้สูงอายุ สร้างน้ำตาน้อยลง ------ ------> ตาแห้ง สารหลังกระจกตาถูกดูดกลับ ---------> ต้อ หิน
16
จอรับภาพเสื่อม ( จอ ประสาทตา ) (> 65 ปี ) จุดรับภาพ ที่ชัดที่สุด -------> ภาพบิด เบี้ยว มัวตรงกลาง ภาพ
18
โปรตีนแก้วตาเสื่อมสภาพ ขุ่นมัว (Denature of lens protein) --------> ต้อกระจก ตาลึก หนังตาตก ขอบหนังตาม้วนเข้า - ออกได้ง่าย
20
ระบบการได้ยิน เซลล์ในหูชั้นในลดลง ---- -> หูตึง (1%) ขี้หู เพิ่มขึ้น --------- -> ขี้หูอุดตัน แยกเสียงพูดจากเสียงอื่นๆ ได้ลดลง ------> ใช้เครื่องช่วย ฟังไม่ค่อยได้
25
ระบบกล้ามเนื้อ ↓ ความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อ ขาอ่อนแรง > แขน ส่วนต้นอ่อนแรง > ส่วนปลาย -----> ลุกจาก เก้าอี้ลำบาก หกล้มง่าย
26
ระบบกระดูก ↓ มวลกระดูก ↑ กระดูกพรุน ↑ กระดูกหัก ( สันหลัง สะโพก ข้อมือ ) กระดูกพรุน กระดูกสันหลังยุบ ↓ ส่วนสูง
29
ระบบหัวใจ / หลอด เลือด ↓ อัตราการเต้นของหัวใจ ตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนท่า -----> หน้ามืดเป็นลมเมื่อ เปลี่ยนท่า ↓ เซลล์ประสาทหัวใจ ( เกิดพังผืด ) -----> ↑ หัว ใจเต้นพลิ้ว
30
เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่าง ซ้ายไม่ดี ----> ↑ หัวใจ บีบตัว ↓ ปั้มปริมาณเลือดจาก หัวใจ ↓ การไหลเวียนเลือด
33
ระบบหายใจ - เหนื่อยง่าย - ผนังถุงลมบางลง - การแลกเปลี่ยน ออกซิเจนไม่สมดุล - เซลล์เยื่อบุ ประสิทธิภาพลดลง ------> ไอได้ไม่ดี ---> ปอดบวม
34
- ตอบสนองต่อ คาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณมากๆ ลดลง คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง อยู่นาน ----> กดศูนย์ หายใจ
36
ระบบทางเดินอาหาร สุขภาพช่องปากไม่ดี ↑ เหงือกอักเสบ ฟันผุ เยื่อบุปากบาง / ฝ่อ ----> แผล / ติดเชื้อ ↓ เซลล์กระเพาะอาหาร ↓ กรด ↑ แบคทีเรีย, โลหิตจาง
37
↓ ขนาดของตับ ↓ การย่อย สลายยา ↓ เลือดเลี้ยงตับ ↓ เซลล์ตับอ่อน ----> อาหาร ไม่ย่อย ↓ ลำไส้ใหญ่บีบตัว ----> ท้องผูก ↓ เซลล์ต่อมน้ำเหลืองในผนัง ลำไส้ -----> อักเสบ ติดเชื้อ มะเร็ง
40
ระบบปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต พบ 20 % ↓ เนื้อไต 25% ↓ เซลล์ไต ↓ ขับของเสีย 10 ซีซี /10 ปี ( หลังอายุ 40)----->↓ ขับยาที่ละลายในน้ำ
41
↓ ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหู รูดใน กระเพาะปัสสาวะ -------> กลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (10%) ปัสสาวะคั่งค้าง ↓ ความสามารถทำให้ปัสสาวะ เข้มข้น ---------> ↑ ขับน้ำ / เกลือ ในช่วง กลางคืน
42
ระบบต่อมไร้ท่อ การดูดซึมกลูโคสได้ไม่ดี ↑ เบาหวาน ↑ ระดับน้ำตาล 5.3 mg%/10 ปี หลังอายุ 30 ปี ↓ ฮอร์โมนเอสโตรเจน, เทส โทสเตอโรน
43
ระบบการรับรู้อื่น ๆ ↓ การรับรส 50 % -----> ↓ ความ อยากอาหาร กินอาหารเค็ม มากขึ้น ↓ การับกลิ่น
44
↓ ความรู้สึกกระหาย 25 % ------> ดื่มน้ำน้อย ร่างกาย แห้ง ท้องผูก
45
ระบบโลหิตวิทยา ↓ การสร้างเม็ดเลือดแดง -----> โลหิตจาง ไขกระดูกฝ่อ -----> เม็ดเลือด และเกล็ดเลือดต่ำ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.