บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ
บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
สื่อการเรียนการสอน วิชา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร
บทที่ 7 วงจรไบอัสกระแสตรง
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
แรงดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า ในระบบ 3 เฟส
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
อันตรกิริยาไฟฟ้า ดร.ณัฐดนัย สิงห์คลีวรรณ.
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE NU
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
Virus Computer.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
Elements of Thermal System
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
SMS News Distribute Service
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
Power Flow Calculation by using
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อว่า สกุสตาฟ อาร์ เคอร์ชอฟฟ์ ( Kirchhoff Current Law )

ความหมายกฎกระแสและแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ การใช้กฎของโอห์มแก้ปัญหาในวงจรไฟฟ้าที่ซับซ้อนจะทำให้ มีความยุ่งยากมากยิ่งขึ้น กฎของเคอร์ชอฟฟ์เป็นกฎหนึ่งที่ใช้แก้ปัญหา วงจรไฟฟ้าที่ซับซ้อนได้ดี กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ “เคอร์ชอฟฟ์ เคอร์เรนท์ ลอว์” (Kirchhoff Current Law) จะกล่าวถึงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้า ที่ไหลเข้าและไหลออกจากจุดใดจุดหนึ่งในวงจรไฟฟ้าการแก้สมการ ของเคอร์ชอฟฟ์จะใช้หลักการการลดทอนทางพีชคณิตหรือใช้เมตริกซ์ และดีเทอร์มิแนนต์

(ต่อ) แรงดันไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าทุกวงจรจะมีอยู่ 2 ประเภทคือ แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับวงจร (Voltage Rise)ได้แก่ แหล่งจ่าย แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับวงจร ส่วนแรงดันไฟฟ้าประเภทที่ 2 คือ แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมภายใน วงจร (Voltage Drop) ได้แก่ แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมที่ตัวต้านทานใน วงจรไฟฟ้า

วิธีการกําหนดเครื่องหมาย บวก (+) และ ลบ (-) ให้กระแสและแรงดันในลูป (Loop) 1. สมมุติทิศทางการไหลของกระแสในวงจร (จะให้ไหลในทาง ใดก็ได้) ค่าที่แทนในสมการ มีเครื่องหมายเป็นบวก (+) คือ I1R1

(ต่อ) ค่าที่แทนในสมการ มีเครื่องหมายเป็นลบ (-) คือ - I1R1

ในการคำนวณ ถ้าสมมุติ กระแสถูกต้อง ค่าจะเป็น บวก (+) แต่ ถ้าสมมุติ กระแสผิด ค่าจะเป็น ลบ (-) 2. กระแสที่ผ่านแบตเตอรี่ กำหนดมีทิศทางเหมือนกับแหล่งจ่าย ได้เครื่องหมาย บวก คือ E1

(ต่อ) กำหนดมีทิศทางเหมือนกับแหล่งจ่าย ได้เครื่องหมาย ลบ คือ - E1

การเขียนสมการกระแสและแรงดันไฟฟ้า โดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์ การเขียนสมการกระแสและแรงดันไฟฟ้า โดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 1. กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff Current Law) ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้า = ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลออก

กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ รูปที่ 1  กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จากรูปที่ 1 ให้จุด A เป็นจุดใดๆ ในวงจรไฟฟ้า พิจารณาได้ว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหล เข้าคือ I1, I3 และ I4ส่วนกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกคือ I2 และ I5 ปกติแล้วจะ กำหนดให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าทั้งหมดเป็นบวก (+) และกระแสไฟฟ้าที่ไหลออก ทั้งหมดมีค่าเป็นลบ (-) 

(ต่อ) ดังนั้นเมื่อเขียนเป็นสมการจะได้ดังนี้คือ โหนด (Node) คือ จุดต่างๆในวงจรไฟฟ้าที่มีสาขาของวงจรมาต่ออยู่ตั้งแต่ 2 สาขาขึ้นไป

ตัวอย่างการหาค่ากระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ในวงจรไฟฟ้า ตัวอย่างที่ 1 จากวงจรรูปที่ 2 จงคำนวณหาค่าของ I3 ถ้า I1 = 10 A , I2 = -8 A , I4 = 6 A โดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์ รูปที่ 2

I3 = 10 A – 8 A + 6 A จากกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ (KCL) จะได้สมการ วิธีทำ จากกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ (KCL) จะได้สมการ I1 + I2 – I3 + I4 = 0 หรือ I3 = I1 + I2 + I4 แทนค่าหา I3 I3 = 10 A – 8 A + 6 A = 8 A

ตัวอย่างที่ 2 จากวงจรรูปที่ 10 ตัวอย่างที่ 2 จากวงจรรูปที่ 10.2 จงคำนวณหาค่า I1 , I2 , I3 โดยใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์ รูปที่ 10.2

วิธีทำ

จบการนำเสนอ โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนกอิเล็กทรอนิกส์