บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

บทที่ 8 Power Amplifiers
ดำเนินงานโดย สำนักฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กับภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
“ โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ” เรื่อง รู้จักโปรแกรม OrCAD Capture PSPICE กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าสำหรับ อาจารย์ในระดับอาชีวศึกษา 14 ตุลาคม 2554 เวลา.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
Sinusoidal Steady-State Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
หลอดไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
Stepper motor.
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 12 AC.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ระหว่างสองขั้วใดๆ ของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงสามารถแทนด้วยวงจรสมมูลที่ประกอบด้วย แหล่งจ่าย แรงดันและตัวต้านทานที่ต่ออนุกรม ขั้นตอนในการสร้างวงจรสมมูล 1. นำองค์ประกอบที่ต่อคร่อมกับวงจรสมมูลเทวินินออกจากวงจรเป็นการชั่วคราว 2. ระบุขั้วของวงจรที่ยังคงเหลือไว้ 2 ขั้ว 3. คำนวณหา RTH โดยเริ่มต้นจากการตั้งค่าให้ทุกแหล่งจ่ายที่เหลืออยู่ในวงจรเป็นศูนย์ (แทนแหล่งจ่ายแรงดันด้วยการลัดวงจรหรือแทนแหล่งจ่ายกระแสด้วยการเปิดวงจร) หลังจากนั้นหาผลของความต้านทานระหว่างขั้วทั้งสอง 4. คำนวณหา ETH โดยเริ่มต้นจากการคืนสภาพเดิมของทุกแหล่งจ่ายและหาค่าแรงดันระหว่างขั้วที่ได้ระบุ วงจรเทวินิน

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) 5. เขียนวงจรสมมูลเทวินินที่ประกอบด้วยองค์ประกอบของวงจรที่ได้นำออกไปก่อนหน้านี้ โดยการต่อ องค์ประกอบดังกล่าวไว้ระหว่างขั้วของวงจรสมมูลเทวินิน

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ตัวอย่างที่ 4 จงหาวงจรสมมูลเทวินินของวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้และหาค่ากระแสที่ไหลผ่าน RL เมื่อปรับค่า เป็น 2 , 10  และ 100  วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 คือนำตัวต้านทาน RL ออกจากวงจรชั่วคราวและระบุขั้วของวงจร

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 3 หา RTH โดยการลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดัน ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 4 หา ETH โดยการคืนสภาพแหล่งจ่ายแรงดัน

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 5 เขียนวงจรสมมูลเทวินินและต่อตัวต้านทาน RL เข้าวงจร เมื่อ RL=2 เมื่อ RL=10 เมื่อ RL=100

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ตัวอย่างที่ 5 จงหาวงจรสมมูลเทวินินของวงจรไฟฟ้า วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 และ 3

ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 4 ต่อแหล่งจ่ายกระแสเข้าที่เดิม ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 5 เขียนวงจรสมมูล