บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ระหว่างสองขั้วใดๆ ของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงสามารถแทนด้วยวงจรสมมูลที่ประกอบด้วย แหล่งจ่าย แรงดันและตัวต้านทานที่ต่ออนุกรม ขั้นตอนในการสร้างวงจรสมมูล 1. นำองค์ประกอบที่ต่อคร่อมกับวงจรสมมูลเทวินินออกจากวงจรเป็นการชั่วคราว 2. ระบุขั้วของวงจรที่ยังคงเหลือไว้ 2 ขั้ว 3. คำนวณหา RTH โดยเริ่มต้นจากการตั้งค่าให้ทุกแหล่งจ่ายที่เหลืออยู่ในวงจรเป็นศูนย์ (แทนแหล่งจ่ายแรงดันด้วยการลัดวงจรหรือแทนแหล่งจ่ายกระแสด้วยการเปิดวงจร) หลังจากนั้นหาผลของความต้านทานระหว่างขั้วทั้งสอง 4. คำนวณหา ETH โดยเริ่มต้นจากการคืนสภาพเดิมของทุกแหล่งจ่ายและหาค่าแรงดันระหว่างขั้วที่ได้ระบุ วงจรเทวินิน
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) 5. เขียนวงจรสมมูลเทวินินที่ประกอบด้วยองค์ประกอบของวงจรที่ได้นำออกไปก่อนหน้านี้ โดยการต่อ องค์ประกอบดังกล่าวไว้ระหว่างขั้วของวงจรสมมูลเทวินิน
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ตัวอย่างที่ 4 จงหาวงจรสมมูลเทวินินของวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้และหาค่ากระแสที่ไหลผ่าน RL เมื่อปรับค่า เป็น 2 , 10 และ 100 วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 คือนำตัวต้านทาน RL ออกจากวงจรชั่วคราวและระบุขั้วของวงจร
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 3 หา RTH โดยการลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดัน ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 4 หา ETH โดยการคืนสภาพแหล่งจ่ายแรงดัน
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 5 เขียนวงจรสมมูลเทวินินและต่อตัวต้านทาน RL เข้าวงจร เมื่อ RL=2 เมื่อ RL=10 เมื่อ RL=100
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ตัวอย่างที่ 5 จงหาวงจรสมมูลเทวินินของวงจรไฟฟ้า วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 และ 3
ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 4 ต่อแหล่งจ่ายกระแสเข้าที่เดิม ทฤษฎีเทวินิน (Thevenin’s theorem) ขั้นตอนที่ 5 เขียนวงจรสมมูล