Dengue Hemorrhagic fever

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรคไข้เลือดออก.
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญ ทางระบาดวิทยา
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
Myasthenia Gravis.
VDO conference dengue 1 July 2013.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โรคอุจจาระร่วง.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
Acute diarrhea.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
SEPSIS.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Dengue Hemorrhagic fever

ไข้เลือดออกเดงกี่ DHF เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ นำโรคโดยยุงลาย Aedes aegypti มี 4 สายพันธุ์ DEN-1, DEN- 2, DEN-3 และ DEN-4 เมื่อเป็นชนิดใดแล้ว จะมีภูมิไปตลอดชีวิต แต่มีภูมิคุ้มกันต่ออีก 3 สายพันธ์ ได้ชั่วคราว 6 เดือน ถึง 1 ปี

อาการแสดงไข้เลือดออกเดงกี่ ไข้สูง กินยาไข้ไม่ลง ปวดหัวมาก ไม่ค่อยเล่น ปวดเนื้อตัว ปวดข้อ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนหัว ผื่นแดง หน้าแดง ปากแห้ง ตาเปล่ง บวมเล็กน้อย มีอาการเลือดออก เช่น จุดเลือดออตามตัว เลือดกำเดา ถ่ายหรืออาเจียนเป็นเลือด 18

เกณฑ์วินิจฉัยไข้เลือดออก DHF(Criteria) อาการทางคลินิก clinical ไข้ 2-7 วัน อาการเลือดออก ตับโต ความดันโลหิตต่ำ ผลเลือด lab ความเข้มเลือดเพิ่ม Hct ↑ ≥ 20% เกล็ดเลือดต่ำ Plt. Count < 100,000 / cu.mm.

Denque Shock Syndrome- DSS มีอาการอย่างน้อยหนึ่งอาการดังต่อไปนี้ ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตแคบ (pulse pressure) ≤ 20 มม.ปรอท (โดยไม่มี hypotension) เช่นมี เช่น 100/80 , 110/90, 90/70 มม.ปรอท หรือมี hypotension หรือมีภาวะช็อกรุนแรง จนวัดความดันหรือจับชีพจรไม่ได้ ตัวเย็นมาก/ปากเขียว/ตัวเขียว Poor capillary refill > 2 วินาที มือ/เท้า เย็นชื้น กระสับกระส่าย

Warning sign in severe dengue ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ Severe plasma leakage ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำ มือเท้าเย็น (poor capillary perfusion) Severe bleeding Severe organ impairment เช่น ภาวะตับวาย ค่า AST หรือ ALT > 1000 ไตวาย ภาวะหายใจล้มเหลว ความรู้สึกตัวลดลง (alternation of conciousness)

Tourniquet test วัดความดันโลหิตด้วยเครื่องวัดที่มีขนาด cuff พอเหมาะ กับขนาดต้นแขนส่วนบนของผู้ป่วย ( คลุม 2 ใน 3 ของต้น แขน) บีบความดันไว้ ที่กึ่งกลางระหว่าง systolic และ diastolic pressure รัดค้างไว้ประมาณ 5 นาที หลังจากนั้นจึง คลาย ดัน รอ 1 นาทีหลังคลาย ความดันจึงอ่านผลการทดสอบ Positive = พบจุดเลือดออก > 10 จุดต่อตารางนิ้ว ให้บันทึกผลเป็นจำนวน จุด ต่อตารางนิ้ว

Tourniquet test การรัดแขน ในวันที่ 1 +ve 50 % ในวันที่ 2 +ve 80 % ในวันที่ 3 +ve 90 % ไวรัสมีผลต่อ หลอดเลือดฝอยโดยตรง ( Positive มีโอกาสติดเชื้อ 63%) อาจให้ผล false negative ใน 1. ภาวะshock 2. ผู้ป่วยอ้วน 3. ผู้ป่วยผอม 4. ทำผิดวิธี

การดำเนินโรค แบ่งตามระยะของโรคคือ 1.ระยะไข้ 2-7 วัน 2.ระยะวิกฤต นาน 24-48 ชม.เกิดเร็วสุด D3 ของไข้ 3.ระยะฟื้นตัว 24-48 ชม.หลังสิ้นสุดระยะวิกฤต

ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี่ ( Grade III, IV ถือเป็น DSS )

การตรวจ CBC ช่วยบอกระยะของโรค

การดูแลรักษาระยะไข้ การลดไข้ ใช้ paracetamol อย่างเดียวเท่านั้น (10 mg/kg/dose) ให้ห่างกันอย่างน้อย 4-6 ชม. และต้องเช็ดตัวลดไข้ร่วมด้วยเสมอ ห้ามให้ ASAหรือNSAID เพราะจะเกิดGI bleedได้ง่าย อาหารอ่อนย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารสีดำ แดง และน้ำตาล ดื่มน้ำผลไม้ และ ORS IV fluid จะให้เมื่อมี moderate dehydration Domperidone ถ้าอาเจียน /H2 blocker ถ้า มีHx PU Antibiotics ไม่ควรให้เพราะเพิ่ม risk ในการแพ้ยา นัด FU CBC ทุกวันเริ่มจากD3 + แนะนำwarning sign

การดูแลรักษาระยะวิกฤต วินิจฉัยภาวะช็อก/leak ให้เร็วที่สุด ยากถ้าไม่ได้วัดBPหรือจับpulse เนื่องจากช่วงแรกความรู้สึกตัวดี ไข้ลง แต่ ชีพจรเบาเร็ว Pulse pressure แคบ เช่น 100/80,110/90 Capillary refill >2 sec กระสับกระส่าย เอะอะโวยวาย พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง

ระยะฟื้นตัว A ppetite กินได้มากขึ้น B radycardia + full, BP stable หัวใจเต้นปกติมากขึ้น C onvalescence rash ผื่นแดง คันตามแขนขาพบ 30%ของcase/isching D iuresis ปัสสาวะออกดี

Early warning signs มีการเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ เช่น สับสน กระสับกระส่าย เอะอะโวยวาย พูดจาหยาบคาย ไม่รู้สึกตัว มีอาการช็อก ได้แก่ - เหงื่อออก ตัวเย็นชื้น สีผิวคล้ำลง ตัวลายๆ - ชีพจรเบาเร็ว - pulse pressure แคบ≤20 มม.ปรอท - hypotension - Capillary refill> 2 วินาที - oxygen saturation>95%

Early warning signs มีเลือดออก ; อาเจียน ถ่ายอุจจาระดำ/แดง ปัสสาวะสีดำ หรือน้ำตาลเข้ม ชัก อาเจียน/ ปวดท้องมาก ไม่ปัสสาวะภายใน 8 ชม. หรือปัสสาวะน้อยกว่า 0.5ซีซี/กก./ชม ในระยะวิกฤต ผู้ป่วยมีอาการหนังตาบวม, ท้องอืดมาก หอบเหนื่อย

ข้อบ่งชี้ในการ Admit WBC ≤ 5000 + lymphocytosis + Platelet ≤ 100,000 + อ่อนเพลีย กินไม่ค่อยได้ อาเจียนมาก อ่อนเพลียมาก รับประทานอาหารและดื่มน้ำไม่ได้ หรืออาเจียนมาก Platelet ≤ 100,000 เซลล์/ลบ.มม. +/- HCT เพิ่มขึ้นจากเดิม 10-20% เลือดออกมาก มีอาการช็อก หรือ impending shock * ไข้ลงและชีพจรเร็วผิดปกติ * Capillary refill > 2 วินาที

ข้อบ่งชี้ในการ Admit (ต่อ) * ตัวเย็นชื้น เหงื่อออก ตัวลาย กระสับกระส่าย * Pulse pressure ≤ 20mmHg โดยไม่มี Hypotension เช่น 100/80 ,90/70 มม.ปรอท * Hypotension หรือ postural hypotension * ปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเป็นเวลานาน 4-6 ชม. มีการเปลี่ยนแปลงของการรู้สติ ผู้ปกครองกังวลมาก หรือ บ้านอยู่ไกล

DHF high risk ผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 1 ปี ผู้ป่วยสูงอายุ/ผู้ป่วยท้อง ผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกรุนแรง (grade IV) ผู้ป่วยอ้วน ผู้ป่วยที่มีเลือดออกมาก ผู้ป่วยที่มีอาการทางสมอง หรือมีอาการผิดปกติ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่า G6PD deficiency, Thalassemia, โรคหัวใจ, โรคไต

ข้อควรระวังในผู้ป่วยDHFในผู้ใหญ่ 1.ผู้ป่วยช็อคจะมีความรู้สึกตัวดีและcompensate ได้ดี ถ้าไม่วัดBPหรือจับชีพจรจะไม่รู้ว่ากำลังช็อค 2.ในผู้หญิงต้องซักประวัติประจำเดือนเสมอ ถ้ามีต้องให้primalute N 3.ถ้าปวดท้องมากและมีประวัติPU หรือประวัติยาแก้ปวดต้องคิดถึง GI bleeding เสมอต้องรีบให้เลือดถ้าให้ iv แล้วไม่ดีขึ้น 4.ถ้ามีunderlying HTอยู่เดิมในภาวะ shockผู้ป่วยอาจมี BP อยู่ในเกณฑ์ปกติ(แต่จะต่ำกว่าภาวะปกติของผู้ป่วย)

การส่งต่อผู้ป่วย DHF grade 4 DHF with bleeding(hypermenorrhea) Unusual manifestation :seizure ,conscious change Infant DHF with underlying dis. DHF with fluid overload DHF grade 3 ที่ให้ 5%D/NSS 10cc/kg 2ชม. Hct ยังสูง และให้ dextrane-40 10cc/kg อีก1ชม.แล้วไม่ดีขึ้น หรือมีช็อกซ้ำ

Fluid overload : puffy eye lids, tachypnea cause of death Prolong shock Fluid overload : puffy eye lids, tachypnea rapid and full pulse , wide PP แต่อาจพบ narrowing PPได้ในคนอ้วน ,fine crepitation /wheezing,rhonchi Severe bleeding Unusual manifestation