การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
4. Research tool and quality testing
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
แก้ไข.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ความตรงตามเนื้อหา content validity
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
CLASSROOM ACTION RESEARCH
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม บอกวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัยได้ สามารถตรวจสอบสอบคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัยได้

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย ความตรง Validity ระดับความสามารถของเครื่องมือในการวัดสิ่งที่ต้องการวัด (Polit & Hungler,1999) เป็นคุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่งของเครื่องมือที่สามารถวัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการจะวัด (ยุวดี และคณะ, 2537)

ประเภทของความตรง(Type of Validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity) 2. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ criterion-related validity 2.1 ความตรงตามสภาพปัจจุบัน (concurrent validity) 2.2 ความตรงตามการพยากรณ์ (predictive validity) 3. ความตรงตามโครงสร้าง (construction validity)

ความตรงตามเนื้อหา content validity ความตรงตามเนื้อหา หมายถึง คำถามในแบบสอบถามมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับมโนทัศน์ของตัวแปร หรือคำถามในแบบสอบถามมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับแนวคิดหรือทฤษฎีของตัวแปร การตรวจสอบ : ใช้ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ 3-5 ท่าน ความตรงที่ได้เป็นความเห็นพ้องต้องกันของผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่าน

ความตรงตามเนื้อหา content validity สามารถคำนวณหาจาก ค่าดัชนีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity Index หรือ CVI) CVI = จำนวนคำถามที่ผู้เชี่ยวชาญทุกคนให้ความคิดเห็นในระดับ 3 และ 4 จำนวนคำถามทั้งหมด อ่านต่อในเอกสารแนบ หน้า 224, 225 ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล โดยมีข้อสังเกตุคือ ระดับ 1,2 คือ ไม่เห็นด้วย : ระดับ 3,4 คือ เห็นด้วย และต้องมีคนเห็นด้วย(3,4)เกินครึ่งจึงจะบอกได้ว่าข้อคำถามนั้นผ่าน เช่นคำถามข้อที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญ 4 คนไม่เห็นด้วยให้ระดับ (1,2) ส่วนคนที่เห็นด้วยให้ระดับ (3) มีเพียงคนเดียวดังนั้นจึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ไม่ เห็นด้วยกับข้อคำถามนี้ ดังนั้นคำถามข้อ 3 นี้ไม่ผ่าน ส่วนคำถามข้ออื่นผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นไปในทางเดียวกัน ดังนั้นคำถามที่ผ่านจึงมีเพียง 1,2,4,6,7,9,10,11,12,13,14 และ 15 ***

ความตรงตามเนื้อหา content validity หน้า 229-230 ดร.ประกาย จิโรจน์กุล

ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ criterion-related validity การประเมินความตรงโดยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์กับเกณฑ์มาตรฐาน แบ่งออกได้ 2 ชนิด 1. ความตรงตามสภาพปัจจุบัน (concurrent validity) 2. ความตรงตามการพยากรณ์ (predictive validity)

ความตรงตามสภาพปัจจุบัน concurrent validity ความตรงตามสภาพปัจจุบัน เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถวัดคุณลักษณะที่ศึกษาได้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนดในปัจจุบัน วิธีการคือ นำแบบวัด 2 ฉบับซึ่งวัดในคุณลักษณะเดียวกันหรือวัดตัวแปรเดียวกัน โดยแบบวัดฉบับหนึ่งเป็นฉบับที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และแบบวัดอีกฉบับหนึ่งเป็นแบบวัดมาตรฐาน ไปให้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกันตอบ นำข้อมูล 2 ชุดมาวิเคราะห์หาค่า สหสัมพันธ์ หากค่าสหสัมพันธ์มีค่าสูง คือแบบวัดที่พัฒนาขึ้นมีความตรงตามสภาพปัจจุบัน การตรวจสอบ : นำค่าคะแนนที่ได้ไปหา ค่า สปส.สหสัมพันธ์ (r) กับเครื่องมือที่เป็นมาตรฐาน ถ้าค่า r สูง (เข้าใกล้ 1) แสดงว่าเครื่องมือนั้นมีความตรงตามสภาพสูง

2. ความตรงตามการพยากรณ์ (predictive validity) ความตรงตามการพยากรณ์ เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือที่สามารถวัดคุณลักษณะที่ศึกษาได้ตรงตามเกณฑ์พยากรณ์ของคุณลักษณะนั้นๆ ในอนาคต คสพ.ของสิ่งที่เครื่องมือวัดได้ในปัจจุบัน กับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การตรวจสอบ : เกณฑ์ เป็นเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นตามมา (อนาคต) ถ้าเหตุการณ์ถูกต้องมาก ความตรงจะมีค่าสูง ถ้าถูกต้องน้อย ความตรงก็ต่ำ สถิติที่ใช้ สปส. สหสัมพันธ์ ถ้า r> .45 อยู่ในเกณฑ์ดี เช่น แบบวัดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ จะทดสอบความเที่ยงตรงตามการพยากรณ์ ได้ ต้องศึกษาติดตามบุคคลกลุ่มนั้น ว่าป่วยเป็นโรคหัวใจในอนาคต สอดคล้องกับผลการวัดในขณะนี้หรือไม่

ความตรงตามโครงสร้างหรือความตรงตามทฤษฎี Construct validity ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง หมายถึง เครื่องมือนั้นสามารถวัดได้สอดคล้องกับโครงสร้างหรือคุณลักษณะตามทฤษฏีของสิ่งนั้น ความตรงตามโครงสร้าง หมายถึงคำถามในแบบสอบถามวัดได้ตรงกับมิติของมโนทัศน์ตัวแปร และครอบคลุมมโนทัศน์ของตัวแปรในทุกมิติ คสพ. ระหว่างคะแนนที่ได้จากแบบสอบถาม/ แบบวัด กับคะแนนที่ได้จากการวัดตามที่กำหนดไว้ในทฤษฎี

วิธีการหาความตรงตามโครงสร้าง มีวิธีต่างๆ ดังนี้ เทคนิคการทดสอบกับกลุ่มที่รู้จัก known group method ทำได้ง่าย เป็นที่นิยม วิธีการ : นำเครื่องมือไปทดสอบกับกลุ่มที่รู้จักดีอยู่แล้ว ว่ามีลักษณะที่ต้องการจะวัด คะแนนที่ได้จะบอกให้ทราบว่า เครื่องมือนั้นๆ มีความตรงหรือไม่

2. วิธีการตรวจสอบภายใน intratest method ศึกษาโครงสร้างของคำถามในเครื่องมือว่าวัดคุณลักษณะเดียวกันหรือหลายอย่าง เป็นการวัดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน homogeneous วิธีการคำนวณ : คูเดอร์ ริชาร์ดสัน Kuder-Richardson ครอนบาค แอลฟา Cronbach’s alpha

3.วิธีตรวจสอบภายนอก intertest method หา คสพ. ระหว่างคะแนนที่ได้จากแบบวัดที่สร้างขึ้นกับแบบวัดอื่น ซึ่งวัดในทฤษฎีเดียวกัน และต้องเป็นแบบวัดที่ได้มาตรฐาน 4. เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ Factor Analysis Technique

ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง (Reliability) ความคงเส้นคงวา (consistency) & ความคงที่ (stability) ของการวัด ระดับความคงที่ของการวัดในสิ่งที่ต้องการวัด ระดับความคงที่ของคะแนนจากการวัดเรื่องเดียวกันไม่ว่าในเวลาใดก็ตาม

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น การวัดความคงที่ measures of stability หรือ การวัดความคงเส้นคงวา measures of external consistency การวัดความสอดคล้องภายใน measures of internal consistency การเลือกวิธีการหาค่าความเชื่อมั่นขึ้นอยู่กับข้อจำกัดของแต่ละวิธี

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น 1. วิธีการหาค่าความคงที่ภายนอก 1.1 วิธีการทดสอบซ้ำ test-retest method ใช้แบบวัด 1 ชุดเดียวกัน ทดสอบกับบุคคลกลุ่มเดียวกันจำนวน 2 ครั้ง ในระยะเวลาต่างกัน แล้วนำคะแนนที่ได้จากการวัดทั้ง 2 ครั้งมาหาค่า คสพ. โดยการคำนวณค่า สปส. สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Peason Product Moment Correlation Coeffient) ถ้าค่าที่คำนวณได้สูง แสดงว่าคะแนนจากการวัดทั้ง 2 ครั้งมี คสพ. กันสูง ระยะเวลาในการทดสอบครั้งแรกกับครั้งที่สองไม่ควรห่างกันมากนัก

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น สูตรการคำนวณ rxy= Nxy - (x) (y) [N x2 (x)2 ] [ N y2 (y) 2 ] rxy หมายถึง ค่า สปส.สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน X หมายถึงคะแนนที่ได้จาการตอบแบบวัดครั้งที่ 1 Y หมายถึงคะแนนที่ได้จาการตอบแบบวัดครั้งที่ 2 N หมายถึง จำนวนคนที่ตอบแบบวัด

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น ระยะเวลาในการทดสอบ : ไม่ควรเกิน 6 เดือน ในทางปฏิบัติโดยมากใช้ช่วง 1 วัน –1 สัปดาห์ ถ้าเป็นแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ควรห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ แต่ไม่ควรเกิน 3 สัปดาห์ สาเหตุที่อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน ผู้ตอบจำข้อคำถามได้จากการตอบครั้งแรก ระยะเวลาที่ห่าง เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้เรียนรู้เพิ่มเติม องค์ประกอบอื่น เช่น สถานที่ บรรยากาศ และเวลาที่ทำการตอบ

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น 1.2 การใช้แบบวัดคู่ขนาน ( parallel form method) การประมาณค่าความเท่าเทียมกันของการใช้เครื่องมือ 2 ฉบับที่สร้างขึ้นให้มีคุณสมบัติเหมือนกัน เมือนำไปวัดคนกลุ่มเดียวกันในเวลาเดียวกัน คะแนนที่ได้จาก 2 ฉบับมี คสพ. กันสูง : มีความเที่ยงสูง คะแนนที่ได้จาก 2 ฉบับไม่สัมพันธ์กัน : 2 ฉบับไม่เท่าเทียมกันใช้แทนกันไม่ได้ ในทางปฏิบัติ ไม่นิยมใช้ เนื่องจากการสร้างเครื่องมือคู่ขนานทำได้ยากมาก

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น 2. วิธีการวัดความสอดคล้องภายใน 2.1 เทคนิคการแบ่งครึ่ง (split half technique) สูตร r1 = 2r 1+r r1 หมายถึง ค่า สปส. ความเที่ยงของฉบับเต็ม r หมายถึง ค่า สปส. ความเที่ยงของครึ่งฉบับ

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น 2. การหาความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร คูเดอร์- ริชาร์ดสัน (kuder-Richardson แบบวัดที่จะนำมาหาความเที่ยงด้วยวิธีนี้ ต้องมีการให้คะแนนเป็น 0 และ 1 หรือเป็นการวัดที่มีการแจกแจงเพียง 2 ลักษณะเท่านั้น สูตรของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน มี 2 สูตร คือ KR-20 และ KR-21

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น สูตรของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน KR-20 rtt = n 1-pq n-1 st2 ค่าความเชื่อมั่นที่คำนวณด้วย KR-21 จะต่ำกว่าที่คำนวณณจาก KR-20 KR-21 rtt = n 1 - x(n-x) n-1 nst2

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น Rtt = ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง n = จำนวนข้อคำถามของแบบวัด P = สัดส่วนของคนที่ตอบถูกในแต่ละข้อ q = สัดส่วนของคนที่ตอบผิดในแต่ละข้อ s2 = ความแปรปรวนของคะแนนทั้งหมด x = ค่าเฉลี่ยของคะแนนทั้งหมด

วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น 2.3 การหาความเชื่อมั่น โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) α = n n-1 1- Si2 St2 α คือค่าความสอดคล้องภายใน n คือจำนวนข้อคำถามในแบบสอบถาม Si2 คือผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ St2 คือความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ  ต้องมีค่า 0.7 ขึ้นไป ( รศ ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล : 236 ) ***

ระดับความยากง่าย (difficulty level) จำนวนคนที่ตอบข้อคำถามข้อนั้นถูก ความยาก p = จำนวนคนที่ตอบทั้งหมด ค่าที่ใช้ได้ควรอยู่ระหว่าง 0.4 ถึง 0.8 ค่า p เข้าใกล้ 1 จะเป็นข้อที่ง่าย เข้าใกล้ 0 จะเป็นข้อที่ยาก ให้นิสิตแก้ไขจากเนื้อหาเดิมจาก 0.6เป็น 0.8 ***

ค่าอำนาจจำแนก Power of discrimination การหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ คือการหาข้อคำถามที่มีประสิทธิภาพ มีความไวต่อการทดสอบ เช่น สามารถแยกกลุ่มเก่ง-อ่อน ทัศนคติทางบวก-ลบ ออกจากกันได้

วิธีการหาค่าอำนาจจำแนก ใช้การทดสอบ ค่า t (t-test) ดังนี้ นำเครื่องมือไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง หาคะแนนรวมของแต่ละคน เรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก ตัด 25% บนและล่าง จะได้คะแนนเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสูง และกลุ่มต่ำ คำนวณหาค่าอำนาจจำแนก

สูตรอำนาจจำแนก t= ค่าอำนาจจำแนก Xh= คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มสูง sh2 + sl2 xl = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มต่ำ sh2 = ความแปรปรวนของกลุ่มสูง sl2 = ความแปรปรวนของกลุ่ม nh= จำนวนกลุ่มตัวอย่างของกลุ่มสูง nl= จำนวนกลุ่มตัวอย่างของกลุ่มต่ำ t = xh - xl sh2 + sl2 nh nl

แบบฝึกหัด หาค่าความเที่ยงโดยวิธีของครอนบาค แอลฟา

การหาค่าความเที่ยงโดยวิธี KR คนที่\ ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 åX   28 29 30 จำนวนคนถูก P q pq

การหาค่าความเที่ยงโดยวิธีของครอนบาค คนที่\ ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 X   27 28 29 30 åx åC s

สอนวันที่ 11 สิงหาคม 2554 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554