บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Advertisements

ความต่อเนื่อง (Continuity)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
The Management of Distributed Transaction
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
บทที่ 3 การตรวจสอบระบบปฏิบัติการ
Register Allocation and Graph Coloring
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2
Deadlocks oslecture07.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
นงลักษณ์ พรมทอง วิเชษฐ์ พลายมาศ
บทที่11 Transmission Control Protocol(TCP) Connection
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
ARP (Address Resolution Protocol)
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Use Case Diagram.
Operating System ฉ NASA 4.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การติดตั้งภาษาไทยและการจัดการดิสก์
OSI MODEL.
What’s P2P.
การฟื้นสภาพและการควบคุมสภาวะพร้อมกัน
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
สนุกกับ Activity ใน Android
DEADLO CK นางสาวเบญจวรรณ จิตร ถวิล วันนี้เริ่มต้นเรียนบทที่ 7 หน้า 237 ในตำรา เรียนจะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่รู้อยู่แล้ว คือ สิ่งที่ทำให้แอพพลิเคชั่นหรือบางครั้งถ้า.
Synchronization (การประสานงาน)
Synchronization น.ส.จิรภัทร ทองนพคุณ รหัสนิสิต กลุ่ม 1 Operating System.
รูปแบบของปัญหา (System Model) กระบวนการหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อน ได้ใช้ทรัพยากรนั้น และจะต้องคืน ทรัพยากรนั้นกลับสู่ระบบเมื่อใช้เสร็จ.
Operating System.
ภาวะติดตาย (Deadlock)
Deadlocks รูปแบบของปัญหา (System Model)         กระบวน การหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อนได้ใช้ทรัพยากรนั้น.
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
วงรี ( Ellipse).
Fix common PC problems จัดทำโดย นส. ฐิติชญา ถาวร เลขที่ 12 นส. สุรัญชนา หทัยสุวรรณกุล เลขที่ 33 เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการเทคโนโลยี
Interrupt.
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2.  บทที่ 7 หน้า 237 ในหนังสือเรียนโอเอส ใน บทนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่น่าจะ รู้อยู่แล้ว ก็คือ.
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
จัดทำโดย ด. ญ. เจนจิรา หอมรำพึง ด. ญ. ณัฐชยา บุญเชื่อม ด. ญ. นัทตะวัน โปธิ นำเสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติด รัมย์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Deadloc ks. วันนี้เราเริ่มต้นเรียนบทที่ 7 เริ่มในหน้า 237 ในตำรา เรียนของคุณ. บทนี้จะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่คุณรู้, มันคือ สิ่งที่ทำให้ application.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
สมัครที่นี่ เป็นเครื่องมือที่ทำ ให้คุณสามารถ เรียกใช้ ไฟล์งานต่างๆ ของคุณ ได้ ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่แห่งไหน ใช้คอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
Chapter7b Deadlock. Daedlocl ( วงจรอัป ) คือ สภาวะที่โพรเซส บางตัวหรือทุกตัวไม่สามารถทำงานต่อไปได้ ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ทรัพยากรร่วมกันแล้ว เกิดการแย่งชิง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 Deadlock Your company slogan

Deadlock ระบบคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปประกอบด้วยทรัพยากร หรือรีซอร์ส ( resource)จำนวนมากที่สามารถถูกเรียกใช้งานโดยโปรเซสเซอร์ (Proceses) หนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น ทรัพยากรเหล่านี้จะไม่สามารถให้ไมโครโปรเซสเซอร์มากกว่า 1 ไมโครโปรเซสมาใช้พร้อมๆ กัน ดังนั้นปฏิบัติการที่ดีจะต้องมีความสามรถที่จะหยุดการทำงานโปรเซสใดๆ เป็นการชั่วคราว ถ้าโปรเซสนั้นพยายามเรียกใช้งานอยู่ และทำให้เกิดข้อผิดพลาดดังกล่าว โปรแกรม หรือแอปพลิเคชันโดยทั่วไปเมื่อทำงาน จะเปิดโปรเซสขึ้นมากมาย โปรเซสเหล่านั้นส่วนใหญ่ต้องการใช้ทรัพยากรมากกว่า 1 แต่หากโปรเซสมีการร้องขอการใช้ทรัพยากรเพื่อใช้งานพร้อมๆกัน ณ จุดนี้เองที่โปรเซสจะถูกปฏิเสธให้ทำงานและหยุดเพื่อรอใช้ทรัพยากรของอีกฝ่ายหนึ่ง โดยไม่มีวันที่จะได้ทรัพยากรของอีกฝ่ายเลย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่า วงจรอับ หรือ deadlock

Deadlock คืออะไร “กลุ่มของโปรเซสที่ถูกปฏิเสธไม่ให้ทำงาน (blocking) อันมีผลเนื่องมาจาก การแย่งชิงการใช้ทรัพยากรหรือ การสื่อสาร โดยที่โปรเซสในกลุ่มต่างรอคอยสัญญาณการทำงานที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะจากโปรเซสภายในกลุ่มนี้เท่านั้น” เนื่องจากโปรเซสต้องรอสัญญาณการทำงาน และไม่มีโปรเซสใดสามารถส่งสัญญาณการทำงานให้กับโปรเซสอื่น ภายในกลุ่มได้ ซึ่งจะส่งผลทั้งหมดต้องรอคอยอย่างไม่มีสิ้นสุด โดยในนิยามนี้ สมมุติว่า ไม่มีการอินเตอร์รัพต์ (interrupt) ขึ้นในระบบเพื่อที่จะเรียกใช้โปรเซสที่อยู่ในกลุ่มนี้ขึ้นมาใช้งานได้ ในกรณีที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปนั้น สัญญาณแต่ละโปรเซสจะรอคอยก็คือ สัญญาณการปล่อยทรัพยากร ที่ถูกใช้งานโดยโปรเซสภายในกลุ่มใช้งานอยู่ (โดยทรัพยากรนั้นเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์)หรือถ้าอาจจะกล่าวในอีกทัศนะหนึ่งก็คือสมาชิก ของแต่ละโปรเซสในวงจรอับต่างรอคอยทรัพยากรที่ถูกใช้งานโดยโปรเซสที่อยู่ในวงจรอับนั้นเอง ไม่มีโปรเซสใดสมารถทำงานได้ถูกเรียกออกมาจากกลุ่มได้

เงื่อนไขการเกิด Deadlock ทรัพยากรเป็นแบบใช้ร่วมกันไม่ได้ (Mutual Exclusion) มีเพียงหนึ่งโปรเซสเท่านั้นที่จะใช้ทรัพยากรได้ อีกโปรเซสต้องรอ ถือครองแล้วรอคอย (Hold and Wait) โปรเซสตัวหนึ่งใช้ทรัพยากรอยู่ โดยที่กำลังรอคอยทรัพยากรอีกตัวหนึ่ง ซึ่งทรัพยากรตัวนี้ก็ถูกครอบครองโดยอีกโปรเซสหนึ่ง ไม่มีการแทรกกลางคัน (No Preemption) ทรัพยากรจะถูกคืนเมื่อโปรเซสต้องการคืน หากไม่คืน OS ทำอะไรไม่ได้ รอคอยเป็นวงกลม (Circular Wait) เป็นการรอคอยแบบงูกินหาง

เงื่อนไขการใช้ทรัพยากรของโปรเซส โปรเซสทุกโปรเซสจะต้องดำเนินการตามเงื่อนไขนี้ ร้องขอ (Request) จะรอจนกว่าได้รับทรัพยากรนั้น ใช้งาน (Use) ใช้งานจนเสร็จ คืนทรัพยากร (Release) ใช้เสร็จแล้วก็คืนกลับสู่ระบบ ปัญหา deadlock เกิดจาก ร้องขอตลอดกาล ใช้งานแล้วไม่คืน

การป้องกันการเกิดวงจรอับ(deadlock) การใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ (Mutual exclusion prevention)เช่นการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลยอมให้ทุกโปรเซสเข้าใช้งานโดยอ่านได้อย่างเดียวและยอมให้มีการเขียนกระบวนการเดียวเท่านั้น การป้องกันการถือครองและการรอคอย ( Hold and wait prevention)โดยกำหนดให้แต่ละโปรเซสต้องร้องขอทรัพยากรทั้งหมด และจะอนุญาตเมื่อได้ทรัพยากรครบ ยอมให้มีการแทรกกลางคัน (Premptable) ระบบจะไม่ยอมให้โปรเซสร้องขอทรัพยากรจนกว่าจะปลดปล่อยทรัพยากรของตัวเอง การป้องกันการเกิดวงจรรอคอย (Circular wait protection) โดยการกำหนดลำดับของทรัพยากรทั้งหมดในระบบ ซึ่งโปรเซสจะร้องขอได้เฉพาะทรัพยากรที่อยู่ในลำดับสูงกว่าเท่านั้น

การแก้ไขวงจรอับ (Recovery from Deadlock) ระบบอาจจัดการได้ 2 วิธี คือ รายงานให้ผู้ควบคุมเครื่องทราบว่า ขณะนี้เกิดวงจรอับขึ้นในระบบแล้ว ให้ผู้ควบคุมจัดการแก้ไขวงจรอับเอง ระบบแก้ไขวงจรอับเองโดยอัตโนมัติ มี 2 วิธี คือ ยกเลิกการบวนการที่ติดอยู่ในวงจรอับบางกระบวนการเพื่อที่จะตัดวงจรอับ อนุญาตให้มีการแทรกกลางคันทรัพยากรบางส่วนที่ติดอยู่ในวงจรอับได้ เพื่อให้ระบบกลับคืนสู่สภาวะปกติ

กราฟการจัดสรรพทรัพยากร (Resource Allocation Graph)               เมื่อกระบวนการ P₁ ร้องขอทรัพยากรประเภท R₁ เราก็จะเขียนเส้นร้องขอลงในกราฟ การจัดสรรพทรัพยากร และเมื่อการร้องขอนั้นได้รับอนุมัติจากระบบ เส้นร้องขอก็จะถูกแปลง ไปเป็นเส้นถือครองแทน และหลังจากที่กระบวนการปล่อยทรัพยากรคืนสู่ระบบแล้ว เส้นถือครองก็จะถูกลบออกไปจากกราฟเช่นกัน กราฟการจัดสรรพทรัพยากรในรูปข้างต้น แสดงสถานะของระบบได้ ดังนี้ เซต P = { P₁, P₂, P₃ } เซต R = { R₁, R₂, R₃, R₄ } เซต E = { P₁ à R₁, P₂ à R₃, R₁ à P₂, R₂ à P₂, R₂ à P₁, R₃ àP₃ }