การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
Menu Analyze > Correlate
4. Research tool and quality testing
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การวิเคราะห์ Competency
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การศึกษาความพึงพอใจของ
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
สหสัมพันธ์ (correlation)
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
แบบทดสอบเรื่องเศษส่วนและทศนิยม
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
1. ส่วนข้อมูลนำเข้า 2. ส่วนประมวลผลข้อมูล 3. ส่วนสารสนเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
Statistical Method for Computer Science
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ Reliability Analysis

ความเชื่อถือได้ (Reliability) คือ มีความสม่ำเสมอ แน่นอน คงที่ (Stability or consistency) เช่น ข้อสอบวิชาวิธีวิจัย เมื่อใช้ สอบแล้ว คนที่ได้คะแนนระดับสูง ครั้งแรก ครั้งที่สองยัง สูง คนที่ได้คะแนนระดับปานกลาง ครั้งแรก ครั้งที่สอง ก็ ยังคงได้ระดับปานกลาง คนที่ได้คะแนนระดับต่ำครั้งแรก ครั้งที่สองยังต่ำเช่นเดิม แสดงว่าข้อสอบมีความเชื่อมั่นสูง

ความตรง (Validity) คือวัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัด เช่น ต้องการวัดผลสัมฤทธิ์ การเรียนวิธีวิจัยก็ต้องสร้างเครื่องมือที่วัดผลสัมฤทธิ์ การเรียนวิชาวิธีวิจัยจริงๆ ไม่ใช่วัดวิชาสถิติ

ประเภทของความเชื่อถือได้ เทคนิคการวัดซ้ำ (Test/Retest) เทคนิคการใช้เครื่องมือวัดที่สามารถทดแทนกันได้ (Alternative/Equivalent Form) เทคนิคการวัดความสอดคล้องภายในชุดเดียวกัน (Internal consistency) วิธีการแบ่งครึ่ง (Split - Half Method) สัมประสิทธิ์ Cronbach’s Alpha (Cronbach’s Alpha Coeffcient)

เทคนิคการวัดซ้ำ (Test/Retest) หาความเชื่อมั่นโดยวัดความคงที่ภายนอก สัมประสิทธิ์ที่ คำนวณได้เรียก สัมประสิทธิ์ความคงที่ หรือ (Coefficient of stability) วิธีทำ ก. ทดสอบครั้งแรกแล้ว เว้นระยะ 1 เดือน แล้วทดสอบใหม่ ด้วยข้อสอบเดิม (เครื่องมือเดิม) ข. นำคะแนนครั้งที่ 1 และ 2 มาคำนวณหาค่า สหสัมพันธ์ เช่น โดยวิธีของเพียร์สัน

เทคนิคการใช้เครื่องมือวัดที่สามารถทดแทนกันได้ (Alternative Form) หาความเชื่อมั่นโดยวัดความคงที่ภายนอก สัมประสิทธิ์ที่ คำนวณได้เรียก สัมประสิทธิ์ความคงที่ หรือ (Coefficient of stability) วิธีทำ ก. ทดสอบครั้งแรกแล้ว เว้นระยะ 1 เดือน แล้วทดสอบใหม่ ด้วยข้อใหม่ (เครื่องมือใหม่ที่สามารถวัดทดแทนกันได้) ข. นำคะแนนครั้งที่ 1 และ 2 มาคำนวณหาค่า สหสัมพันธ์ เช่น โดยวิธีของเพียร์สัน

เทคนิคการวัดความสอดคล้องภายในชุดเดียวกัน (Internal consistency) วิธีที่นิยมใช้ได้แก่ วิธีสัมประสิทธิ์ Cronbach’s Alpha (Cronbach’s Alpha Coefficient) วิธีการแบ่งครึ่ง (Split - Half Method)

วิธีการแบ่งครึ่ง (Split - Half Method) นำเครื่องมือ 1 ฉบับ ไปวัดผู้ที่ถูกวิจัย 1 กลุ่ม เพียง 1 ครั้ง นำคะแนนของแต่ละคนมาแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ คะแนนข้อคี่กับคะแนนข้อคู่ นำคะแนนข้อคี่ – ข้อคู่ ของทุกคนมาหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ใช้สูตรของเพียร์สัน ค่าที่ได้จะเป็นค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวัดครึ่งฉบับ ปรับขยายค่าความเชื่อมั่นครึ่งฉบับ เป็นค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยใช้สูตรของ Spearman -Brown

สัมประสิทธิ์ Cronbach’s Alpha ข้อตกลงเบื้องต้น : คะแนนเป็นมาตรเรียงอันดับหรืออันตรภาค นิยมมากเพราะให้รายละเอียดของค่าสถิติมากกว่าการทดสอบ แบบอื่นๆ ชี้ให้เห็นถึงลักษณะของรายการแต่ละ รายการที่นำมา สร้างมาตรวัดว่าดี ไม่ดี คือ มีความผันแปรมาก หรือไม่ ค่าที่ได้คือ สัมประสิทธิ์ แอลฟา หรือ Coefficient สามารถใช้ได้กับแบบทดสอบที่มีการให้คะแนนเป็น 0 และ 1 ได้

ชนิดของข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ความเชื่อถือได้ ข้อมูลที่มีค่าได้ 2 ค่า (Dichotomous) สเกลอันดับ ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยข้อมูลทุกประเภทต้องกำหนดให้อยู่ในรูปตัวเลขก่อนที่จะใช้เทคนิค Reliability

คำสั่งของ Spss ในการวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ Analyze ==> Scale ==> Reliability Analysis

การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ความเชื่อมั่น หมายถึง เครื่องมือนั่นมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน เครื่องมือที่มีความเชื่อมั่นสูง คือ เครื่องมือที่มีคุณสมบัติสามารถวัดสิ่งเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง แล้วได้ค่าหรือคำตอบใกล้เคียงกัน หรือแตกต่างกันน้อยมาก การหาค่าความเชื่อมั่น ด้วยวิธีการของ Cronbach’s Alpha ใช้กับการหาค่าการตอบคำถามแบบเรียงอันดับ (Rating Scale) เช่น 5 4 3 2 1

คำสั่ง การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) Analyzescalereliability analyze เลือกตัวแปรที่ต้องการหาค่าความเชื่อมั่น ไปไว้ที่ items ถ้าต้องการเพิ่มค่าสถิติให้คลิกที่ปุ่ม statistics จะปรากฏหน้าต่างให้เลือก

คำสั่ง การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) สมมุติว่า เลือกค่าสถิติ Scale if item deleted ที่อยู่ในส่วนของ Descriptives for เพื่อใช้วิเคราะห์คำถามแต่ละข้อ เมื่อเลือกเสร็จให้กดปุ่ม continue เลือก เลือก จากนั้นให้กดปุ่ม OK เพื่อดูผลลัพธ์ที่ได้

ผลลัพธ์ที่ได้ ดังนี้ Reliability Coefficients Scale Scale Corrected Mean Variance Item- Alpha if Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deleted N1 31.0000 18.0690 .6228 .8525 N2 31.1000 18.0931 .6548 .8505 N3 31.5000 17.5690 .5518 .8591 N4 31.1667 17.0402 .7886 .8387 N5 31.1667 17.1782 .8380 .8365 N6 31.2333 18.3230 .6730 .8503 N7 31.5000 17.9828 .4513 .8695 N8 30.9667 18.2402 .4992 .8626 N9 31.3667 18.3092 .4353 .8695 N10 31.3000 19.5276 .4917 .8627 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 10 Alpha = .8680

ถ้าตัดข้อ N7 ออก เพื่อให้ได้ค่าความเชื่อมั่นสูง .8695 Scale Scale Corrected Mean Variance Item- Alpha if Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deleted N1 27.8000 14.3034 .6608 .8504 N2 27.9000 14.5759 .6366 .8529 N3 28.3000 14.2172 .5134 .8667 N4 27.9667 13.4126 .8226 .8344 N5 27.9667 13.6885 .8379 .8349 N6 28.0333 14.6540 .6864 .8498 N8 27.7667 14.5989 .5019 .8660 N9 28.1667 14.7644 .4176 .8766 N10 28.1000 15.7483 .5022 .8645 Reliability Coefficients N of Cases = 30.0 N of Items = 9 Alpha = .8695