CS Assembly Language Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

การจัดการความผิดพลาด
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
การผลิตโค๊ดสำหรับ Procedure Call
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Functional programming part II
Data Type part.III.
Functional programming part II
Stack.
CS Assembly Language Programming
ฟังก์ชัน (Function).
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
Structure Programming
CS Assembly Language Programming
Structure Programming
CS Assembly Language Programming Period 29.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 16.
Function.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
Macro Language and the Macro Processor
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Functions & Sub Program ฟังก์ชันและโปรแกรมย่อย
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
CS Assembly Language Programming Period 14.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 6.
CS Assembly Language Programming Period 30.
CS Assembly Language Programming Period 33.
CS Assembly Language Programming Period 17.
CS Assembly Language Programming Period 13.
บทที่ 4 Method (2).
บทที่ 15 โปรแกรมย่อยและแสต็ก
บทที่ 17 คำสั่งตารางและการสร้างแมคโคร
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
บทที่ 5 ฟังก์ชันของ PHP การประกาศฟังก์ชัน { Statement; }
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
เซกเมนต์ (Segment) โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Computer Programming for Engineers
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
CS Assembly Language Programming
Call by reference.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
Subroutine ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Subrountine – คือส่วนหนึ่งของ code จากโปรแกรมทั้งหมด สำหรับปฏิบัติงานโดยเฉพาะ และเป็นอิสระ จาก code ส่วนอื่นของโปรแกรม ประโยชน์
โปรแกรมย่อย (Sub Program)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CS344-321 Assembly Language Programming Period 34

ในกรณีการผ่านพารามิเตอร์ทาง stack ควรสร้าง macro สองตัว คือ enter_proc macro total_local_size push bp mov bp,sp sub sp,total_local_size endm และ

exit_proc macro total_para_size mov sp,bp pop bp ret total_para_size เช่น proc swap สามารถ เรียกใช้ดังนี้

swap proc enter_proc 2 . . . … exit_proc 4 swap endp

Macro Call within Macro Definition ในส่วน body ของ macro definition สามารถมีการ call macro ได้ เช่น dos21 macro dosfunc mov ah,dosfunc int 21h endm disp macro char mov dl,char dos21 02 macro call within macro definition นอกจากนี้ยังมี directive อื่น ๆ เช่น local หรือ conditional ต่าง ๆ ได้ แต่จะไม่กล่าวถึงในที่นี้

เช่น การ call disp ดังนี้ disp ‘x’ จะถูก expand เป็น mov dl,’x’ mov ah,02 int 21h

Macro V.S. Subroutine macro มีความแตกต่างจาก subroutine คือ การ call macro กระทำในช่วงการแปล (assemble หรือ compile time) โดยการ expansion ในขณะที่ทำ expansion จะมีการแทน dummy parameter ด้วย actual parameter (ถ้ามี) ส่วน การ call subroutine กระทำในช่วงกระทำการ (execution time) เป็นการจำตำแหน่งของคำสั่งถัดไป และกระโดดไปยัง subroutine ที่ต้องการ การส่งผ่าน parameter ทำได้หลายแบบ เช่น pass by value หรือ pass by reference เป็นต้น ทุกครั้งที่มีการ call macro ส่วน body ของ macro definition จะถูก expand ทุกครั้งและกินเนื้อที่เพิ่มขึ้นเท่ากับจำนวนครั้งที่มีการ call แต่การ call subroutine จะกินเนื้อที่เท่ากับคำสั่ง call เท่านั้น subroutine ที่ถูก call ยังคงกินเนื้อที่เท่าเดิม