??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
Ground State & Excited State
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
อสมการ.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
พลังงานภายในระบบ.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
(Internal energy of system)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
Simulation and Modelling ผู้สอน : ผศ.ดร. เสมอแข สมหอม
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
อุณหพลศาสตร์ Thermodynamics
Review of Basic Principle of Thermodynamics 1
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ทฤษฎีการผลิต.
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
ภาวะโลกร้อน.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)
Physics Thermodynamics-1
บทที่ 9 เทอร์โมไดนามิกส์เคมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) คศ. 1878 Bethelot และ Thomsen อธิบายว่า DH เป็น factor ที่บอกถึงการเกิดได้เอง (Spontancity) ของปฏิกิริยา โดยคิดว่าเมื่อ DH < O ปฏิกิริยาเกิดได้ เพราะว่าการเกิดปฏิกิริยา ทำให้พลังงาน ของระบบลดลงและทำให้ระบบเสถียรขึ้น ???

ในทางปฏิบัติ พบว่า ภายใต้สภาวะบางอย่าง เช่น ที่อุณหภูมิสูงมาก ๆ การเปลี่ยนอัญรูปของควอทซ์ ก็สามารถเกิดได้เองแม้ว่า DH > O SiO2 848 K SiO2 DH = 0.88 kJ mol-1 (low quartz) (high quartz)

การทดลองของจูล เมื่อจูลใช้น้ำหนักถ่วงให้ใบพัดหมุนในน้ำ การหมุนทำให้น้ำร้อนขึ้น แต่ถ้าให้ความร้อนกับน้ำ ไม่สามารถทำให้ใบพัดหมุนได้ W

กฎข้อที่ 1 อธิบาย “Irreversible” ไม่ได้

??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) คศ. 1878 Bethelot และ Thomsen อธิบายว่า DH เป็น factor ที่บอกถึงการเกิดได้เอง (Spontancity) ของปฏิกิริยา โดยคิดว่าเมื่อ DH < O ปฏิกิริยาเกิดได้ เพราะว่าการเกิดปฏิกิริยา ทำให้พลังงาน ของระบบลดลงและทำให้ระบบเสถียรขึ้น ???

ในทางปฏิบัติ พบว่า ภายใต้สภาวะบางอย่าง เช่น ที่อุณหภูมิสูงมาก ๆ การเปลี่ยนอัญรูปของควอทซ์ ก็สามารถเกิดได้เองแม้ว่า DH > O SiO2 848 K SiO2 DH = 0.88 kJ mol-1 (low quartz) (high quartz)

การทดลองของจูล เมื่อจูลใช้น้ำหนักถ่วงให้ใบพัดหมุนในน้ำ การหมุนทำให้น้ำร้อนขึ้น แต่ถ้าให้ความร้อนกับน้ำ ไม่สามารถทำให้ใบพัดหมุนได้ W

กฎข้อที่ 1 อธิบาย “Irreversible” ไม่ได้

“Carnot Cycle” (วัฏจักรคาร์โนต์) เพื่อให้ประสิทธิภาพของการทำงานมีค่าสูงสุด Carnot เสนอว่า แต่ละขั้นตอนในวัฎจักรนั้น ควรเกิดขบวนการแบบย้อนกลับได้ ดังนี้

1. การขยายตัวแบบ Isothermal 2. การขยายตัวแบบ Adiabatic 3. การอัดตัวแบบ Isothermal 4. การอัดตัวแบบ Adiabatic

Th Th >> Tc TC qh qc ideal gas W4 W1 W3 W2 Thermal reservior W W

พิจารณากระบวนการ Adiabatic : จะได้ (V2 , Th ) ฎ (V3 , TC ) (V4 , Tc ) ฎ (V1 , Th ) จะได้

??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics) คศ. 1878 Bethelot และ Thomsen อธิบายว่า DH เป็น factor ที่บอกถึงการเกิดได้เอง (Spontancity) ของปฏิกิริยา โดยคิดว่าเมื่อ DH < O ปฏิกิริยาเกิดได้ เพราะว่าการเกิดปฏิกิริยา ทำให้พลังงาน ของระบบลดลงและทำให้ระบบเสถียรขึ้น ???

ในทางปฏิบัติ พบว่า ภายใต้สภาวะบางอย่าง เช่น ที่อุณหภูมิสูงมาก ๆ การเปลี่ยนอัญรูปของควอทซ์ ก็สามารถเกิดได้เองแม้ว่า DH > O SiO2 848 K SiO2 DH = 0.88 kJ mol-1 (low quartz) (high quartz)

การทดลองของจูล เมื่อจูลใช้น้ำหนักถ่วงให้ใบพัดหมุนในน้ำ การหมุนทำให้น้ำร้อนขึ้น แต่ถ้าให้ความร้อนกับน้ำ ไม่สามารถทำให้ใบพัดหมุนได้ W

กฎข้อที่ 1 อธิบาย “Irreversible” ไม่ได้

“Carnot Cycle” (วัฏจักรคาร์โนต์) เพื่อให้ประสิทธิภาพของการทำงานมีค่าสูงสุด Carnot เสนอว่า แต่ละขั้นตอนในวัฎจักรนั้น ควรเกิดขบวนการแบบย้อนกลับได้ ดังนี้

1. การขยายตัวแบบ Isothermal 2. การขยายตัวแบบ Adiabatic 3. การอัดตัวแบบ Isothermal 4. การอัดตัวแบบ Adiabatic

Th Th >> Tc TC qh qc ideal gas W4 W1 W3 W2 Thermal reservior W W

A T P isothermal B A B isothermal Th adiabatic adiabatic adiabatic adiabatic D C TC C D isothermal isothermal V V1 V4 V2 V3 S 1. การขยายตัวแบบ Isothermal (A ฎ B; V1 ฎ V2) 2. “ Adiabatic (B ฎ C; V2 ฎ V3) 3. การอัดตัวแบบ Isothermal (C ฎ D; V3 ฎ V4) 4. “ Adiabatic (D ฎ A; V4 ฎ V1)

Isothermal : T คงที่ PV = nRT P1V1 = P2V2 P P slope = nRT 1/V V

Adiabatic : = w dU = nCvdT = - PdV nCvdT + PdV = O q = 0 = w DU = q + w dU = nCvdT = - PdV nCvdT + PdV = O nCvdT + (nRT/V) dV = O

หารตลอดด้วย nT (Cv/T) dT + (R/V) dV = O อินติเกรดเทอม จะได้ ….???

จาก PV = nRT จะได้ P1V1 = T1 P2V2 = T2

Isothermal: P1V1 = P2V2 Adiabatic: P1V1g = P2V2g P V Isothermal

1. Isothermal Expansion DU = q + w ที่อุณหภูมิคงที่ Th ; ระบบได้รับความร้อน qh ทำให้เกิดการขยายตัวจากปริมาตร V1 ฎ V2 DU = q + w

= w2 = 2. Adiabatic Expansion q = O ; แก๊สมีการขยายตัวจาก V2 ฎ V3 อุณหภูมิของระบบลดลงจาก Th ฎ Tc DU = q + w = w2 =

3. Isothermal Compression ที่อุณหภูมิคงที่ Tc ; ระบบคายความร้อน qc ทำให้เกิดการอัดตัวจากปริมาตร V3 ฎ V4 DU = q + w

= w4 = 4. Adiabatic Compression q = O ; แก๊สมีการอัดตัวจาก V4 ฎ V1 อุณหภูมิของระบบเพิ่มขึ้นจาก Tc ฎ Th DU = q + w = w4 =

นั่นคือ W2 = - W4

= qh + qc งานสุทธิที่เครื่องจักรทำ = งานการขยายตัว - งานการอัดตัว = งานการขยายตัว - งานการอัดตัว = (-W1 -W2) - (W3 + W4 ) = - W1 - W3 = qh + qc

= -w1-w3 = qh + qc qh ประสิทธิภาพของเครื่องจักร = งานสุทธิที่เครื่องจักรทำ ความร้อนที่เครื่องจักรได้รับ = -w1-w3 = qh + qc qh = nRTh ln (V2/V1) + nRTc ln (V4/V3) nRTh ln (V2/V1 )

หรือ

= Th - Tc = qh + qc Th qh ประสิทธิภาพ = 1 ? เมื่อ Tc = O Kelvin ? ประสิทธิภาพ = RTh ln (V2 / V1) + RTc ln (V1 / V2 ) RTh ln (V2 / V1) = RTh ln (V2 / V1) - RTc ln (V2 / V1 ) RTh ln (V2 / V1) = Th - Tc = qh + qc Th qh ประสิทธิภาพ = 1 ? เมื่อ Tc = O Kelvin ?

qh = -Th qc Tc P A C V

P E F A B G H D C V ABCD และ EFGH Carnot Cycle “ย่อย”

งานเนื่องมาจากการขยายตัวแบบ Adiabatic (BC , FG) มีค่าเท่ากับ พิจารณา Carnot Cycle “ย่อย” : ABCD และ EFGH งานเนื่องมาจากการขยายตัวแบบ Adiabatic (BC , FG) มีค่าเท่ากับ งานการอัดตัว (DA , HE) แต่มีเครื่องหมายตรงข้าม (W2 = -W4) จะพิจารณางานกรณีของ isothermal

คือ (qh)AB = - (Th)AB (qc)CD (Tc) CD หรือจัดรูป สมการใหม่ เป็น

เขียนเป็นสมการรวมได้เป็น (สำหรับการพิจารณาจากทุก ๆ Carnot cycles ใน PV - curve) หรือ

P V แสดงว่า เทอม เป็น Exact Differential หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็น State Function

ให้ dS = เมื่อ S = Entropy (transformation, disorder) S เมื่อ qrev คือ ปริมาณความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างระบบ กับสิ่งแวดล้อม ในปฏิกิริยาที่ย้อนกลับได้ ให้ dS = เมื่อ S = Entropy (transformation, disorder) S เป็นฟังก์ชันที่บอกความไม่เป็นระเบียบของระบบ

สรุปได้ว่า S เป็นฟังก์ชันสภาวะ ???

การหาค่า DS 2. Closed System จาก 1st Law : dU = q + W DU = Dq + DW 1. Adiabatic process (Isolated system) q = O ; dS = O 2. Closed System จาก 1st Law : dU = q + W DU = Dq + DW

dU = TdS - PdV สำหรับ reversible process : dU = Dqrev+ DWrev เป็นสมการที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกฏข้อที่ 1 และกฏข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ สังเกตได้ว่า U = U (S,V)

dS = Dqrev = nCV dT + nRT dV จาก Dqrev = dU + PdV dS = Dqrev = nCV dT + nRT dV T T TV

Isochoric Isothermal Isobaric

หรือ dH = TdS DH = TDS กรณีการเปลี่ยนแปลงสถานะ เกิดขี้นที่อุณหภูมิและความดันคงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ย้อนกลับได้ หรือ dH = TdS DH = TDS

กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The third Law of Thermodynamics) สำหรับกระบวนการที่เกิดได้เอง (Spontaneous) และย้อนกลับไม่ได้ (Irreversible Process): DStot > O สำหรับกระบวนการที่ย้อนกลับได้ (reversible process): DStot = O

เมื่อ DStot = DS + DSsurr ระบบ สิ่งแวดล้อม