แรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน ครูณัฐพล วรหาญ โรงเรียนโยธินบูรณะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
Engineering Mechanics
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เคปเลอร์ในวัยเยาว์ เกิดในครอบครัวที่ยากจนพอสมควร เขาเป็นเด็กใฝ่รู้ใฝ่เรียนจนได้รับทุนไปเรียนต่อที่ Tubingen University และได้เขาศึกษาในวิชาดาราศาสตร์และ.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จัดทำโดย…เสาวลักษณ์ ปัญญามี
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
แผ่นดินไหว.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
โยฮันเนส เคปเลอร์.
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
ความหนืด (viscosity) - 
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ความดัน (Pressure).
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
ยิ้มก่อนเรียน.
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
เศษส่วนและทศนิยม.
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน ครูณัฐพล วรหาญ โรงเรียนโยธินบูรณะ แรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน ครูณัฐพล วรหาญ โรงเรียนโยธินบูรณะ

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน m1 m2 นิวตัน อธิบายการที่ดาวเคราะห์โครจรรอบดวอาทิตย์ได้เนื่องจากมีแรงมา กระทำระหว่างดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์เหล่านั้น ซึ่งแรงนี้นิวตัน เรียกว่า “แรงดึงดูดระหว่างมวล” m1 และ m2 เป็น มวลของวัตถุทั้งสอง F12 และ F21 เป็น แรงดึงดูดระหว่างมวลที่แต่ละวัตถุส่งไปกระทำต่อกัน R เป็น ระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง F12 F21 R “วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่งจะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลของวัตถุทั้งสองและจะแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสองนั้น” G m1m2 R2 Fg = G เป็น ค่าคงที่ความโน้มถ่วงสากล มีค่าประมาณ 6.67 x 10-11 Nm2/ kg2

สนามโน้มถ่วงโลก (Gravitational Field) เป็นปริมาณที่ บอกถึง ค่าแรงโน้มถ่วงที่โลกส่งไปกระทำต่อมวลหนึ่งหน่วย ของวัตถุ บางทีเรียก ค่าความโน้มถ่วง ( gravity, g ) การหาความเร่งเนื่อง จากความโน้มถ่วงแยกเป็น 2 ลักษณะ คือ ณ ตำแหน่งที่อยู่นอกดาวเคราะห์ ณ ตำแหน่งที่อยู่ในดาวเคราะห์

การหาความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง ณ ตำแหน่งที่อยู่นอกดาวเคราะห์ m จาก F g G = แสดงว่า ขนาดของความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงจะลดลงเมื่อ ตำแหน่งนั้นอยู่ห่างจากผิวดาวเคราะห์มากขึ้น mg’ Gmm x R2 = R m x g’ Gm x R2 =

สภาพไร้น้ำหนัก จากสมการการหาค่าความเร่งจากความโน้มถ่วง ณ ตำแหน่งที่อยู่ห่างจากดาวเคราะห์ใดๆ (g’) ทำให้ทราบว่า ยิ่งสูง/ไกล จากโลก วัตถุยิ่งมี น้ำหนักน้อยลง ถ้าอยู่ไกลจนไม่มีแรงที่โลกดึงดูดวัตถุเลย เรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก g’ Gm x R2 =

ชั่งมวลโลก ถ้ามีวัตถุมวล m อยู่ที่ผิวโลก โลกจะออกแรงดึงดูดมวล m ด้วยแรง และแรง ดึงดูดระหว่างมวลมีค่าเท่ากับแรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำกับวัตถุ ซึ่งก็คือ น้ำหนัก (W) นั้นเอง กำหนดให้ เป็นมวลของโลก m เป็นมวลของวัตถุ เป็นรัศมีโลก (ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางโลกถึงวัตถุ) มีค่าเท่ากับ 6.38 x 106 m โลกจะออกแรง ด้วยแรง F G F G เท่ากับแรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำกับวัตถุ น้ำหนัก (W) m e R e

แบบฝึกหัด 1. โลกกับดวงจันทร์ ซึ่งมีมวล 5.98 x 1024 กิโลกรัม และ 7.36 x 1022 กิโลกรัม ตามลำดับ โดยระยะทางระหว่างศูนย์กลางโลกและดวงจันทร์ เท่ากับ 3.8 x 108 เมตร จงหาขนาดของแรงดึงดูดระหว่างมวล 20 x 1020N

แบบฝึกหัด 2. โลกกับวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางที่ผิวโลก ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร รัศมีของโลกเท่ากับ 6.37 x 106 เมตร จงหาขนาดของแรงดึงดูดระหว่าง มวล (มวลโลกเท่ากับ 5.98 x 1024 กิโลกรัม) 9.8N

การหาความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง ณ ตำแหน่งที่อยู่ในดาวเคราะห์ F g G = แสดงว่า ณ ตำแหน่งที่อยู่ลึกจากผิวดาวเคราะห์มากเท่าไร ค่าความเร่ง เนื่องจากความโน้มถ่วงจะลดลง ma Gmm x r2 = m F G r G ρπr3 4 3 r2 a = a Gρπr 4 3 =

แบบฝึกหัด 3. เมื่อขุดอุโมงค์ลึกจากผิวโลกลงไป ณ ตำแหน่งที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลาง โลกเท่ากับครึ่งหนึ่งของรัศมีโลก ณ ตำแหน่งนี้จะมีความเร่งเนื่องจากแรง โน้มถ่วงกี่เท่าของความเร่งที่ผิวโลก ½ เท่าของผิวโลก

แบบฝึกหัด 4. ชายคนหนึ่งหนัก 800 นิวตัน ที่ผิวโลก ถ้าเขาไปชั่งน้ำหนัก ณ ตำแหน่ง ห่างจากจุดศูนย์กลางโลกเป็น 4 เท่าของรัศมีโลก เขาจะหนักเท่าไร 50N

แบบฝึกหัด 5. จงหาความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วงของโลก ของวัตถุมวล m ณ ตำแหน่งที่อยู่ห่างจากผิวโลกเท่ากับรัศมีโลก (ที่ผิวโลกมีค่า g = 10 เมตร/ วินาที2 ) 2.5 เมตร/วินาที2

แบบฝึกหัด 6. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 3 เท่าของมวลโลก และมีรัศมีเป็น 2 เท่า ของรัศมีโลก ความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วงที่ผิวดาวเคราะห์ดวงนี้เป็น กี่เท่าของความเร่งที่ผิวโลก 3/4g

แบบฝึกหัด 7. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีรัศมี เป็นหนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางของ โลก และมีมวลหนึ่งในหกของมวลโลก ชายผู้นี้หนัก 500 นิวตัน เขาจะ หนักเท่าใดเมื่อขึ้นไปอยู่บนดาวเคราะห์ดวงนี้ 750N

แบบฝึกหัด 8. ชายคนหนึ่งชั่งน้ำหนักบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่งได้ ¼ เท่าของน้ำหนักบน ผิวโลก ถ้าดาวเคราะห์ดวงนี้มีรัศมี ½ เท่าของรัศมีโลก จงหามวลของดาว เคราะห์นั้นว่าเป็นกี่เท่าของมวลโลก 1/16 m e

แบบฝึกหัด 9. ดาวเทียมดวงหนึ่งจะต้องโคจรสูงจากผิวโลกเท่าใด จึงจะทำให้ความเร่ง เนื่องจากสนามความโน้มถ่วงของโลกมีเพียง 1 ใน 4 ของผิวโลก (รัศมี ของโลกเท่ากับ 6.4 x 106 เมตร) 6.4 x 106 เมตร

แบบฝึกหัด 10.จากรูปพื้นเอียงและรอกไม่มีความฝืด มวล m1 และ m2 มีขนาด 20 และ 30 กิโลกรัม ตามลำดับ จงหาแรงตึงเชือกระหว่างมวลทั้งสองว่ามีขนาดกี่ นิวตัน 168N 20 30 37 53

แบบฝึกหัด 11. ชายคนหนึ่งมวล 75 กิโลกรัมอยู่ในลิฟต์ เมื่อกดปุ่มให้ลิฟต์ลง ลิฟต์เริ่ม เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งจนมีความเร็วคงที่แล้วเริ่มลดอัตราเร็วลงด้วย ความเร่งคงที่ 1 เมตร/วินาที2 เพื่อหยุด อยากทราบว่าแรงที่ลิฟต์กระทำต่อ ชายคนนี้ขณะที่ลิฟต์กำลังจะหยุดเป็นกี่นิวตัน 825N

แบบฝึกหัด 12. (PAT3’53)ลิฟต์มวล 200 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 4 เมตร/ วินาที2 ถ้าลวดที่รับน้ำหนักลิฟต์สามารถรับแรงดึงได้สูงสุด 9,000 นิวตัน ลิฟต์ดังกล่าวจะสามารถรองรับผู้โดยสารได้สูงสุดกี่คน กำหนดให้น้ำหนัก เฉลี่ยของผู้โดยสารเท่ากับ 50 กิโลกรัม/คน และ ความเร่งเนื่องจากแรง โน้มถ่วงของโลกเท่ากับ 10 เมตร/วินาที2 8คน