แนวทางการดำเนินงานงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บปีงบประมาณ 2552 โดย นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ 16 กันยายน 2551.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Tomato Yellow Leaf Curl Begomovirus จัดทำโดย 1
Advertisements

สารสนเทศเพื่อการวิจัย (Information for Research)
PHT 631 Postharvest Handling System of Cereal Grains and
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ในระดับชุมชน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer-Assisted Instruction
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
ชุมชนกับการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติในด้านสังคมศาสตร์ (The Application of Statistical Package in Social Sciences) การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
“สถานการณ์และระบาดวิทยา โรคไม่ติดต่อในประเทศไทย ”
สถานะภาพของเครือข่าย UniNet/NedNet
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
กระบวนการพัฒนาระบบงาน
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
Information Retrieval
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บปีงบประมาณ 2552 โดย นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ 16 กันยายน 2551

มุ่งเน้นการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงร่วม ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวานและเมตาบอลิซึม การบริโภคยาสูบ การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหวออกกำลังกาย การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ปริมาณมากสม่ำเสมอ ภาวะเครียดเรื้อรัง และความไม่ปลอดภัยจากการบาดเจ็บ

ความชุกพฤติกรรมสุขภาพและการบาดเจ็บ ที่สำคัญในประชากรไทย (อายุ 15-74 ปี) ปี 2548 และ 2550 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

รายงานการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ 2548 2550 ความดันโลหิตสูง 8.3 9.4 การคัดกรองความดันโลหิตสูง ใน 1 ปีที่ผ่านมา (15-74 ปี) 65.8 66.0 การคัดกรองความดันโลหิตสูง ใน 1 ปีที่ผ่านมา(35-74 ปี) 75.0 75.5 เบาหวาน 3.7 3.9 การคัดกรองเบาหวาน ใน 1 ปีที่ผ่านมา (15-74 ปี) 32.9 39.3 การคัดกรองเบาหวาน ใน 1 ปีที่ผ่านมา (35-74 ปี) 45.0 51.1 รายงานการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ

รายงานการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ 2548 2550 น้ำหนักเกินและอ้วน 16.1 15.4 อ้วน 3.0 3.7 การเคลื่อนไหว,ออกกำลังกาย 91.5 92.5 ออกกำลังกาย 30 นาที, 3 ครั้ง 30.9 37.5 ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 37.4 36.1 ดื่มหนัก 3.6 ดื่มเกิน 5 แก้วมาตรฐาน/ครั้ง 14.0 13.7 สูบบุหรี่ 22.5 21.5 รับประทานผักและผลไม้ (> 5 ถ้วยมาตรฐาน) 17.3 รายงานการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ

รายงานการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ 2548 2550 คาดเข็มขัดนิรภัย 67.0 68.3 สวมหมวกกันน็อค 52.4 54.0 คัดกรองมะเร็งปากมดลูกใน 1 ปี (15-74 ปี) 21.6 25.1 คัดกรองมะเร็งปากมดลูกใน 1 ปี (35-74 ปี) 26.5 31.1 คัดกรองมะเร็งปากมดลูกใน 5 ปี (15-74 ปี) 48.8 55.0 คัดกรองมะเร็งปากมดลูกใน 5 ปี (35-74 ปี) 58.6 68.0 รายงานการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ

สรุปผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2551 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับบริการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานตามมาตรฐาน (เกณฑ์ร้อยละ 65) คัดกรองความดัน 71.41 (ไม่ผ่าน 2 เขต) คัดกรองเบาหวาน 65.35 (ไม่ผ่าน 7 เขต) จังหวัดที่มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอัมพฤกษ์อัมพาต ได้ตามมาตรฐาน (คะแนนเต็ม 25 ต้องได้ 18 คะแนนขึ้นไป) ผลงาน ร้อยละ 86.73 28/07/62

พัฒนาระบบเฝ้าระวัง โครงการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ (สำรวจทุก 3 ปี) โครงการสังเคราะห์ข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ และพัฒนาตัวชี้วัดโรคไม่ติดต่อ 2552-2555 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อพัฒนาการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ งบประมาณ 2552-2554 โครงการประเมินผลระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ 2552

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โครงการพัฒนานโยบายและทรัพยากรนำเข้าในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อโดยยึดพื้นที่เป้าหมายเป็นฐาน พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเพื่อการจัดการลดพฤติกรรมเสี่ยงโดยยึดพื้นที่เป้าหมายเป็นฐาน โครงการทบทวนองค์ความรู้เรื่องรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ โครงการพัฒนาระบบการกำกับและประเมินผลการจัดการลดปัญหาความดันโลหิตสูงและเบาหวานอย่างครบวงจร CBI

การบาดเจ็บ โครงการลดการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กไทย โครงการพัฒนาเครือข่าย อสม.ในการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุ ทางถนนในชุมชน

P 1.3 เสริมสร้างและพัฒนาความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ชุมชน และอาสาสมัครในการจัดการตนเองลดเสี่ยง โครงการลดการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กไทย พัฒนารูปแบบการป้องกันการจมน้ำของเด็กในพื้นที่นำร่อง (สคร. 9,5) ขยายผลรูปแบบป้องกันการจมน้ำในเด็ก (สคร. 1,5,9,11) โครงการพัฒนาเครือข่าย อสม.ในการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน จัดการอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อเป็นพี่เลี้ยงให้กับ อสม. ในพื้นที่นำร่อง ขยายผลการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนโดย อสม. โครงการสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลด้านการป้องกันการบาดเจ็บ โครงการการสื่อสารความเสี่ยงด้านการป้องกันการบาดเจ็บ

สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย