โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
ข้อใดไม่ใช่สมบัติของแก๊ส
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
Introduction to Chemistry
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
อะตอม คือ?. แบบจำลองอะตอม โดย ครูเกษศิรินทร์ พลหาญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
นางสาวเนตรนภา เอียดสงคราม
Chemistry Introduction
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ปฏิกิริยาเคมี Chemical Reaction
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ความดัน (Pressure).
ความเข้มข้นของสารละลาย
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
เศษส่วนและทศนิยม.
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล

วิธีการเทียบหน่วย (Factor-label method) ความสัมพันธ์ของวิธีการเทียบหน่วย สรุปเป็นดังนี้ ปริมาณและหน่วยที่ต้องการ = ปริมาณและหน่วยที่กำหนด x แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย (Desired quantity & unit) (Given quantity & unit) (Conversion factor)

ลักษณะของแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย เขียนเป็นอัตราส่วนได้ 2 ลักษณะ คือ หรือ ปริมาณของตัวตั้ง = ปริมาณของตัวหาร (แต่หน่วยต่างกัน) ตัวอย่างที่ 1 1 กิโลกรัม = 1,000 กรัม แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย คือ หรือ ตัวอย่างที่ 2 1,000 เมตร = 1 กิโลเมตร แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย คือ หรือ

ลักษณะของแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย ตัวอย่างการใช้แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย สารชนิดหนึ่งมีมวล 0.85 กิโลกรัม สารนี้มีมวลเป็นกี่กรัม

ลักษณะของแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย ตัวอย่างที่ 1 แท่งแก้ว 1.25 m มีความยาวเท่าใดในหน่วย mm

ลักษณะของแฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วย ตัวอย่างที่ 2 นักวิ่งคนหนึ่งวิ่งได้ 100 m ในเวลา 11 s ความเร็วของนักวิ่งเป็นกี่ km/hr

โมล (Mole) โมล (Mole,Mol) คือ หน่วยที่บอกปริมาณอนุภาคของสาร ซึ่งเป็นหน่วยใหญ่ที่ใช้ที่ใช้แทนอนุภาคจำนวนมาก โมล (Mole,Mol) คือ ปริมาณสารที่มีจำนวนอนุภาคเท่ากับจำนวนอะตอมของ 12C ที่มีมวล 12 กรัม อนุภาค ได้แก่ อะตอม โมเลกุล หรือไอออนก็ได้ โมล (Mole,Mol) คือ ปริมาณสารที่มีจำนวนอนุภาคเท่ากับจำนวนอะตอมของ 12C ที่มีมวล 12 กรัม (หรือ 6.02 x 1023 อนุภาค)

โมล (Mole) โมล (Mole,Mol) คือ ปริมาณสารที่มีจำนวนอนุภาคเท่ากับจำนวนอะตอมของ 12C ที่มีมวล 12 กรัม (หรือ 6.02 x 1023 อนุภาค) จาก 12C 1 อะตอม มีมวล 12 x 1.66 x 10–24 g เทียบ บญ. 12C มวล 12 x 1.66 x 10-24 g มีจำนวนอะตอม = 1 อะตอม 12C มวล 12 กรัม มีจำนวนอะตอม = อะตอม = 6.022137 x 1023 อะตอม Avogadro,s number

ความสัมพันธ์ของโมล ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนโมล กับจำนวนอนุภาค เขียนในรูปอัตราส่วนได้ดังนี้ ดังนั้น สารตัวอย่าง 1 โมล ซึ่งมีค่า 6.02 x 1023 อนุภาค

ความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับอนุภาคของสาร จำนวนและชนิดของอนุภาคของสารบางชนิด

สรุปความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับอนุภาคของสาร ธาตุ 1 โมล จะมีจำนวนอะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม Na 1 โมล มีจำนวนอะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม สารประกอบ 1 โมล จะมีจำนวนโมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล NaCl 1 โมล มีจำนวนโมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล ธาตุ 1 โมล จะมีมวล = มวลอะตอมของธาตุ (กรัม) Na 1 โมล มีมวล = 23 กรัม สารประกอบ 1 โมล จะมีมวล = มวลโมเลกุลของธาตุ (กรัม) NaCl 1 โมล มีมวล = 23 + 35.5 = 58.5 กรัม

แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยของโมลกับมวลโมเลกุล ธาตุ 1 โมล จะมีมวล = มวลอะตอมของธาตุ (กรัม) Na 1 โมล มีมวล = 23 กรัม สารประกอบ 1 โมล จะมีมวล = มวลโมเลกุลของธาตุ (กรัม) NaCl 1 โมล มีมวล = 23 + 35.5 = 58.5 กรัม

แฟคเตอร์เปลี่ยนหน่วยของโมลกับปริมาตรของก๊าซ ก๊าซใดๆ 1 โมล มีปริมาตรเท่ากับ 22.4 dm3 ที่ STP