แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
Advertisements

สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การตั้งค่าวัคซีน.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
Direction of EPI vaccine in AEC era
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560 แผนปฏิบัติงานโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แนวทางการประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การกำกับติดตามข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีนผ่านระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (HDC dashboard) การดำเนินงานพัฒนารูปแบบการให้บริการวัคซีนในกลุ่มเสี่ยง สุรสิทธิ์ ธนปารวงศ์ กลุ่มงานควบคุมโรคติตต่อ สสจ.ลำพูน

แผนปฏิบัติงาน โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประจำปีงบประมาณ 2560

วัตถุประสงค์ 1. กวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป 1. กวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป 2. กำจัดโรคหัดให้มีผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุไม่เกิน 4 ต่อประชากรล้านคน (260 ราย) 3. กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดให้เหลือไม่เกิน 1 ต่อพันเด็กเกิดมีชีพรายจังหวัด 4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน - คอตีบ ไม่เกิน 0.015 ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) - ไอกรน ไม่เกิน 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50 ราย) - โรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย)

เป้าหมาย ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เป็นรายพื้นที่ (หมู่บ้าน, ตำบล/เทศบาล) ยกเว้น วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (วัคซีน MMR) และวัคซีนในนักเรียน มีความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เป็นรายโรงเรียน

กลวิธีในการดำเนินงาน การให้บริการวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายตามกำหนดปกติ (Routine Immunization) การรณรงค์ให้วัคซีนเสริมในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค (Supplemental Immunization Activity : SIA) หรือการให้วัคซีนเพื่อควบคุมโรค (Outbreak Response Immunization: ORI) การรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง

แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย ปี 2560 อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 1 เดือน HB2 (เฉพาะรายที่มารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตับอักเสบบี) 2 เดือน DTP-HB1, OPV1 4 เดือน DTP-HB2, OPV2, IPV1 6 เดือน DTP-HB3, OPV3 9 เดือน MMR1 1 ปี LAJE1 1 ปี 6 เดือน DTP4, OPV4 2 ปี 6 เดือน LAJE2 , MMR2 4 ปี DTP5, OPV5 7 ปี (ป.1) (MR, HB, LAJE, IPV, dT, OPV, BCG เฉพาะรายที่รับไม่ครบ) 11 ปี (ป.5) HPV* (2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน) 12 ปี (ป.6) dT * จังหวัดที่ได้รับการสนับสนุนวัคซีน กระทรวงสาธารณสุขจะได้แจ้งให้พื้นที่ทราบต่อไป

พระนครศรีอยุธยา,สิงห์บุรี HPV นำร่อง 13 จังหวัด ปี 2560 สคร 1 จังหวัด 1 พะเยา 2 ตาก 3 นครสวรรค์ 4 พระนครศรีอยุธยา,สิงห์บุรี 5 ราชบุรี 6 ชลบุรี 7 ขอนแก่น 8 อุดรธานี 9 ชัยภูมิ 10 อุบลราชธานี 11 นครศรีธรรมราช 12 สตูล

การให้วัคซีนแก่เด็กที่มารับวัคซีนล่าช้า ครั้งที่ ช่วงอายุ 1-6 ปี เดือนที่ วัคซีน 1 (เมื่อพบเด็ก ครั้งแรก) DTP-HB1, OPV1, IPV MMR1 BCG* 2 DTP-HB2, OPV2 LAJE1 3 MMR2 4 DTP-HB3, OPV3 5 12 DTP4, OPV4 LAJE 2 *1. ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น 2. ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการของโรคเอดส์

การให้วัคซีนแก่เด็กที่มารับวัคซีนล่าช้า ครั้งที่ ตั้งแต่อายุ 7 ปีขึ้นไป เดือนที่ วัคซีน 1 (เมื่อพบเด็ก ครั้งแรก) dT1, OPV1 MR/MMR BCG* 2 HB1 LAJE1 3 dT2, OPV2 HB2 4 7 HB3 5 12 dT3, OPV3 LAJE 2 *1. ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น 2. ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการของโรคเอดส์

การให้วัคซีนในเด็กนักเรียน

การให้วัคซีนแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของเด็กในอดีตเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการให้วัคซีน จากผู้ปกครอง จากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ไม่มีประวัติ / ประวัติไม่แน่ชัด ให้ถือว่า เด็กไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน

เกณฑ์ในการให้วัคซีน แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อแนะนำ BCG - ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น - ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์ HB - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน HB ไม่ครบตามเกณฑ์ dT - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน DTP, OPV ไม่ครบตามเกณฑ์ OPV / IPV - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน OPV ไม่ครบตามเกณฑ์ MMR / MR - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน MMR / MR ไม่ครบตามเกณฑ์ JE - เฉพาะผู้ที่ได้รับวัคซีน JE ไม่ครบตามเกณฑ์

การให้วัคซีน BCG ในนักเรียนชั้น ป.1 ถ้าเด็กมีบันทึกประวัติการได้รับวัคซีนในอดีตระบุว่าได้รับวัคซีน BCG (สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กหรือทะเบียน/บัญชีเด็ก) ไม่ต้องให้วัคซีนอีก (ถึงแม้จะไม่มีรอยแผลเป็นจาก BCG ก็ตาม) หากตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน BCG ในอดีตไม่ได้ แต่เด็กมีรอยแผลเป็น BCG ไม่ต้องให้วัคซีนอีก ถ้าเด็กไม่มีรอยแผลเป็นจาก BCG และไม่มีบันทึกว่าได้รับวัคซีน BCG ในอดีตจากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ต้องให้วัคซีน BCG 1 ครั้ง - ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์ 16

การให้วัคซีน HB ในนักเรียนชั้น ป ประวัติการได้รับวัคซีน HB/DTP-HB จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 3 เข็มที่ 1 ป.1 เข็มที่ 2 ป.1 (≥ 1 เดือน) เข็มที่ 3 ป.2 (≥6 เดือน) 1 เข็ม 2 เข็มที่ 2 2 เข็ม 1 เข็มที่ 1 ป.1 (≥6 เดือน) 3 เข็ม ไม่ต้องให้

การให้วัคซีน dT ในนักเรียนชั้น ป การให้วัคซีน dT ในนักเรียนชั้น ป.1 ตามประวัติการได้รับวัคซีน DTP-HB / DTP ก่อนเข้าเรียน ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของ คอตีบ-บาดทะยัก (DTP-HB, DTP) จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 3 เข็มที่ 1 ป.1 เข็มที่ 2 ป.1 (≥ 1 เดือน) เข็มที่ 3 ป.2 (≥6 เดือน) 1 เข็ม 2 เข็มที่ 2 2, 3, 4 เข็ม 1 เข็มที่ 1 ป.1 (≥6 เดือน) 5 เข็ม ไม่ต้องให้

การให้วัคซีน OPV / IPV ในนักเรียนชั้น ป ประวัติการได้รับ วัคซีนโปลิโอ* จำนวนครั้งที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 3 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 (≥ 1 เดือน) ครั้งที่ 3 (≥6 เดือน) 1 ครั้ง 2 ครั้งที่ 2 (≥6 เดือน) 2, 3, 4 ครั้ง 1 5 ครั้ง ไม่ต้องให้ ให้วัคซีน IPV 1 เข็ม พร้อม OPV ในกรณีต่อไปนี้ 1. เด็กที่ได้รับวัคซีน tOPV** น้อยกว่า 3 ครั้ง และไม่เคยได้รับ IPV 2. เคยได้รับ IPV 1 ครั้ง เมื่ออายุน้อยกว่า 4 เดือน (วัคซีน tOPV** มีให้บริการถึงวันที่ 22 เม.ย. 2559 หลังจากนั้น เปลี่ยนเป็น bOPV***) * ในกรณีที่ได้รับวัคซีน OPV พร้อม IPV ให้นับรวมเป็น 1 ครั้ง ** tOPV = Trivalent OPV เป็นวัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน ประกอบด้วย ทัยป์ 1, 2 และ 3 ปัจจุบันยกเลิกการใช้แล้ว *** bOPV = Bivalent OPV เป็นวัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน ประกอบด้วย ทัยป์ 1 และ 3

การให้วัคซีน MMR / MR ในนักเรียนชั้น ป จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 1 เข็มที่ 1 1 เข็ม เข็มที่ 1 (≥ 1 เดือน) 2 เข็ม ไม่ต้องให้

การให้วัคซีน LAJE ในนักเรียนชั้น ป ประวัติการได้รับวัคซีน LAJE จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ 2 เข็มที่ 1 ป.1 เข็มที่ 2 ป.2 (≥ 12 เดือน) ได้ JE ชนิดเชื้อตาย 1 เข็ม ได้ JE ชนิดเชื้อตาย 2 เข็ม 1 เข็มที่ 1 (≥ 12 เดือน) ได้ JE ชนิดเชื้อตาย 3 เข็ม ไม่ต้องให้ ได้ JE ชนิดเชื้อเป็น 1 เข็ม เข็มที่ 1 (≥ 12 เดือน) ได้ JE ชนิดเชื้อเป็น 2 เข็ม

การให้วัคซีนแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 ให้วัคซีน dT ทุกคน 22

การให้วัคซีนในหญิงมีครรภ์

จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การได้รับวัคซีนป้องกัน dT จำแนกตามประวัติการได้รับ วัคซีนที่มีส่วนประกอบของวัคซีนบาดทะยัก (DTP-HB/DTP/dT/TT) ประวัติการได้รับวัคซีน ที่มีส่วนประกอบของบาดทะยัก (DTP-HB, DTP, dT, TT) จำนวนเข็มที่ต้องได้รับ การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ / ไม่ทราบ* 3 0 (ทันที) 1 เดือน 6 เดือน กระตุ้นทุก 10 ปี 1 เข็ม ไม่ว่าจะนานเท่าใด 2 2 เข็ม ไม่ว่าจะนานเท่าใด 1 3 เข็ม นานกว่า 10 ปี 3 เข็ม น้อยกว่า 10 ปี DTP ครบ 5 เข็ม และ dT ป. 6 นานกว่า 10 ปี * ถ้าภายหลังฉีดแล้วประมาณ 4-12 ชั่วโมง เกิดปฏิกิริยา ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณที่ฉีด (Arthus reaction) แสดงว่าเคยได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของบาดทะยักมาแล้วและมีระดับภูมิคุ้มกันสูง ให้หยุดฉีด dT อย่างน้อย 10 ปี

แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560 กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน

มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มาตรฐานการบริหารจัดการลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แบบประเมิน การบริหารจัดการวัคซีนและ ระบบลูกโซ่ความเย็น ในระดับคลังอำเภอ การปฏิบัติงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรคในระดับ หน่วยบริการ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น แบบประเมิน การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ในระดับคลังอำเภอ (รพศ. / รพท. และ รพช.) ปีงบประมาณ 2560 ตอนที่ 1 การบริหารจัดการทั่วไป (6 คะแนน) ตอนที่ 2 (41 คะแนน)

การปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับหน่วยบริการ แบบประเมิน การปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระดับหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2560 ด้านที่ 1 มาตรฐาน การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ด้านที่ 2 มาตรฐานคุณภาพการให้บริการวัคซีน ด้านที่ 3 มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สรุปคะแนน เนื้อหา หน่วยบริการ รพ. รพ.สต./PCU/ สอ. ด้านที่ 1 …….……/ 40 คะแนน ด้านที่ 2 …….……/ 52 คะแนน ด้านที่ 3 …….……/ 14 คะแนน …….……/ 12 คะแนน รวมทั้งหมด …….……/106 คะแนน …….……/104 คะแนน 28

แนวทางการประเมินมาตรฐานฯ ในระดับจังหวัด สสจ. นิเทศ ติดตาม ประเมินมาตรฐานฯ ที่คลังวัคซีนระดับอำเภอ ทุกแห่ง และสุ่มสถานบริการในแต่ละอำเภอ อย่างน้อย 1 แห่ง สสอ. และ รพ. แม่ข่าย (CUP) นิเทศ ติดตามประเมินมาตรฐานฯ ของสถานบริการในเครือข่าย 29

ประเมินมาตรฐานฯ ปี 60

กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข การกำกับติดตามข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีนผ่านระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (HDC dashboard) กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 31

สิ่งที่จะดำเนินการในปี 2560 ติดตาม ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน BCG ,HBV1, DTP-HBV3,โปลิโอ3, MMR1 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4,โปลิโอ4,JE ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE,MMR2  ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5,โปลิโอ5 

ข้อแก้ไขสำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานต่ำ ข้อสังเกตุ ระบบการจัดการตัวข้อมูลพบว่า ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนไม่สัมพันธ์กับสิ่งที่เราได้ดำเนินการ หน่วยบริการที่มีประชากรหนาแน่น การอัพเดดข้อมูล ปชก.เป้าหมายทำได้…เหนื่อย ความถี่ของการอัพเดด& การตรวจสอบ ของ ปชก.กลุ่มเป้าหมาย ความเป็นปัจจุบันของรหัสวัคซีน(ทุกชนิด) การปรับเปลี่ยนผู้รับผิดชอบและการมอบหมายงาน ข้อแก้ไขสำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานต่ำ 1.ตรวจสอบความครอบคลุมรายสถานบริการ 2.แก้ไขฐานประชากรให้ถูกต้อง รหัส 1,3 3.ตรวจสอบความครบถ้วนของการบันทึกข้อมูลของการให้บริการวัคซีนในเด็กหากไม่ครบถ้วนให้ติดตามมาบันทึกเพิ่ม 5.กม.ศูนย์ข้อมูลระบดับอำเภอ./จังหวัด.

แฟ้มสถานะบุคคล 1=มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและอยู่จริง 2= มีชื่ออยู่ตามทะเบีบนบ้านในเขตรับผิดชอบแต่ตัวไม่อยู่จริง 3= มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ(ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ 4= ที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบและทะเบียนบ้านไม่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เข้ามารับ บริการหรือเคยอยู่ในเขตรับผิดชอบ 5=มาอาศัยในเขตรับผิดชอบแต่ไม่ได้อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ เช่น คนเร่ร่อนไม่มีที่พักอาศัย เป็นต้น

3 2 1

วิธีการคำนวน MMR coverage แฟ้มสถานะบุคคล 1=มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและอยู่จริง 2= มีชื่ออยู่ตามทะเบีบนบ้านในเขตรับผิดชอบแต่ตัวไม่อยู่จริง 3= มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ(ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ 4= ที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบและทะเบียนบ้านไม่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เข้ามารับ บริการหรือเคยอยู่ในเขตรับผิดชอบ 5=มาอาศัยในเขตรับผิดชอบแต่ไม่ได้อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ เช่น คนเร่ร่อนไม่มีที่พักอาศัย เป็นต้น วิธีการคำนวน MMR coverage ปีงบฯ2559 ตัวหาร ตัวตั้ง MMR1 coverage เด็กที่มีอายุครบ 1 ปี ในปีงบฯ2559 (เกิด ต.ค.57 –ก.ย.58) เด็กอายุครบ 1 ปี ในปี 2559 ที่ได้รับ MMR1 (Service ตั้งแต่ ก.ค.58) MMR2 coverage เด็กที่มีอายุครบ 3 ปี (เกิด ต.ค.55 –ก.ย.56) เด็กอายุครบ 3 ปี ในปี 2559 ที่ได้รับ MMR2 (Service ตั้งแต่ มี.ค.58-มี.ค.59)

การดำเนินงานพัฒนารูปแบบการให้บริการวัคซีน ในกลุ่มเสี่ยง

นิยามของกลุ่มเสี่ยง ประชากรเคลื่อนย้าย ทั้งแรงงานไทย และต่างด้าว ประชากรที่อยู่ในพื้นที่สูง ชายแดน ทุรกันดาร ชาวเขา และห่างไกลจากการเข้าถึงสถานบริการสาธารณสุข ประชากรที่อยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ หรือมีประวัติ การเกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (VPDs) ประชากรในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือพื้นที่ที่มีปัญหาความไม่สงบ กลุ่มของประชากรที่ได้รับวัคซีนไม่ครบชุด/ครบถ้วนตามเกณฑ์ หรือไม่ได้รับวัคซีนเลย มีโอกาสติดเชื้อบ่อยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน หรืออาจจะเป็นอัมพาต หรือเสียชีวิตได้ ซึ่งสามารถแพร่กระจายโรคในชุมชนได้