Performance Agreement : PA ปี 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
โดย นางเพชราภรณ์ คำเอี่ยมรัตน์
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Performance Agreement : PA ปี 2560
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
เขตสุขภาพ ที่11.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
LTC + RTI + SP NCD + Mgt.(3) + คบ.
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
นโยบาย รมว สธ ข้อที่ 3 “เร่งรัดมาตรการสุขภาพดี โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วยตายและผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง”
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
Appropriate caesarean section
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
PA Mother & Child Health
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Performance Agreement : PA ปี 2560 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

1. ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด Proxy 1. เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรกด้วยDSPM) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) 2. เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรกด้วยDSPM) ได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย คำนิยาม 1.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน หมายถึง เด็กที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการสาธารณสุขจากการสำรวจเด็กที่มีอยู่จริงในช่วงเวลาที่กำหนด ได้รับการประเมินพัฒนาการปีละ 1 ครั้ง และพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าในครั้งแรกที่ประเมิน 2.เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ หมายถึง เด็กที่ได้รับการประเมินพัฒนาการครั้งแรกพบว่าพัฒนาการล่าช้า ได้แนะนำพ่อแม่ หรือผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการที่บ้าน และอีก 1 เดือนนัดพบเจ้าหน้าที่เพื่อประเมินพัฒนาการซ้ำ 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กที่ได้รับการประเมินพัฒนาการด้วย DSPM และผ่านพัฒนาการทั้ง 5 ด้าน รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ครั้งแรกที่ประเมิน )และได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการและในเวลา 1 เดือน ได้รับการประเมินซ้ำ ผลผ่านการประเมินทั้ง 5 ด้าน

เด็กไทยอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ต่อ) กลุ่มเป้าหมาย เด็กอายุ 9, 18 , 30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีเด็กอยู่จริง ค่าเป้าหมาย เด็กไทยอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ผลประเมินพัฒนาการครั้งแรกพบสงสัยล่าช้าไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 เด็กที่พบสงสัยล่าช้าในครั้งแรกได้รับการติดตาม กระตุ้นพัฒนาการในเวลา 1 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1.บันทึกข้อมูลในโปรแกรมหลักของสถานบริการ ส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม 2.ศูนย์อนามัย รวมรวบข้อมูล วิเคราะห์ เขียนรายงานรายไตรมาส ส่ง กรมอนามัย แหล่งข้อมูล สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ระยะเวลาประเมินผล รายไตรมาส

ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 83 84 85 86 87

มาตรการสำคัญ ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย การใช้กลไกการบริหารจัดการผ่านคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัด/กทม. และMCH Board มีการประชุมทุกไตรมาส การคัดกรองพัฒนาการเด็กหากพบเด็กสงสัยล่าช้า ติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำภายใน 30 วัน (DSPM/DAIM) สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง เลี้ยงดูเด็กโดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (Passport of life) ใช้กระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ป้องกันอุบัติเหตุ การใช้มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ( พรบ. ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.....) สนับสนุนชุมชนท้องถิ่นจัดทำแผนระดับตำบลเพื่อการพัฒนาเด็กองค์รวมอย่างมีส่วนร่วม รัฐ เอกชน ประชาสังคม สื่อสารสังคมด้วยการส่งความรู้ข้อความสั้นตามโครงการ SMS ครอบครัวผูกพัน เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ขับเคลื่อนการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยผ่านศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศ

Small Success : รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1.ประชุมคณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดขับเคลื่อนงาน และMCH board และมีรายงานการประชุม 2. มีแผนงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามบริบทปัญหาของพื้นที่ 3.หญิงตั้งครรภ์และมารดาที่มีลูกต่ำกว่า 6 ปีสมัครรับ SMS ครอบครัวผูกพันฯ 4.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 5. เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาร้อยละ 90 1.ทุก รพ. มีผู้รับผิดชอบงาน ผ่านการอบรมหลักสูตรนักส่งเสริมพัฒนาการหลักสูตรเร่งรัดของกรมอนามัยและผ่านหลักสูตรมิสนมแม่ 2.หญิงตั้งครรภ์และมารดาที่มีลูกต่ำกว่า 6 ปีสมัครรับ SMS ครอบครัวผูกพันฯ 3. จัดกิจกรรม กิน กอด เล่ม เล่า เฝ้าดูช่องปาก และนอน 4.จังหวัดสนับสนุนให้ อปท.จัดทำแผนพัฒนาเด็กองค์รวมอย่างมีส่วนร่วม 5.รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาอุปสรรคและปรับแผนงานโครงการ 6.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 7. เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับ การติดตามเกกระตุ้นพัฒนา ร้อยละ 90 1.จังหวัดมีต้นแบบศูนย์เด็กเล็กวัยเตาะแตะ(3เดือน-2ปีครึ่ง) 2.จังหวัดมีต้นแบบ การให้ความรู้ทักษะการเลี้ยงดูเด็กตามเกณฑ์โรงเรียนพ่อแม่อย่างน้อย 1 แห่ง 3.จังหวัดมีมุมเล่นตามรอยพระยุคลบาทฯใน WCC อย่างน้อย 1 แห่ง 4. เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 5.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาร้อยละ 90   1.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 2.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนา ร้อยละ 90 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 4.รายงานสถานการพัฒนาการณ์เด็กปฐมวัยครั้งที่ 6 (DENVER II )

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เปรียบเทียบปี 2559 กับปี 2560 (ไตรมาส 1&2) ที่มา : http://hdcservice.moph.go.th ณ วันที่ 25 เมษายน 2560

โอกาสในการพัฒนา นำข้อมูลและองค์ความรู้เชิญชวนภาคีลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยแต่ในครรภ์ มุ่งพัฒนาเด็กในศูนย์เด็กเล็ก คิดสร้างสรรค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรอบรมครูพี่เลี้ยงเด็กให้เรียนรู้ด้วยสื่อ Digital และทดสอบมาตรฐานความรู้ ทักษะ การดูแลเด็กเป็นระยะ 4. สร้างพ่อแม่ต้นแบบ ใช้การอ่านเล่าเป็นเครื่องมือ “อ่านทุกบ้าน อ่านทุกวัน อัศจรรย์สมองลูก” 5. สนับสนุนท้องถิ่นสร้างลานเล่นพัฒนาสมองลูกน้อย”ลานล่นตามรอยพระยุคลบาทรัชการที่ ๙” 6. พัฒนาระบบ Coaching เทคนิคการประเมิน การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แบบเกาะ ติดสถานการณ์ 7. ผลักดันให้ประชุม MCH Board อย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนข้อมูลพร้อมทั้งนำเสนอข้อมูลต่ออนุเด็กปฐมวัยจังหวัดและสะท้อนข้อมูลในการดำเนินงานสู่พื้นที่