Performance Agreement : PA ปี 2560 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
1. ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด Proxy 1. เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรกด้วยDSPM) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) 2. เด็กอายุ 9 18 30 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรกด้วยDSPM) ได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย คำนิยาม 1.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน หมายถึง เด็กที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการสาธารณสุขจากการสำรวจเด็กที่มีอยู่จริงในช่วงเวลาที่กำหนด ได้รับการประเมินพัฒนาการปีละ 1 ครั้ง และพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าในครั้งแรกที่ประเมิน 2.เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ หมายถึง เด็กที่ได้รับการประเมินพัฒนาการครั้งแรกพบว่าพัฒนาการล่าช้า ได้แนะนำพ่อแม่ หรือผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการที่บ้าน และอีก 1 เดือนนัดพบเจ้าหน้าที่เพื่อประเมินพัฒนาการซ้ำ 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กที่ได้รับการประเมินพัฒนาการด้วย DSPM และผ่านพัฒนาการทั้ง 5 ด้าน รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ครั้งแรกที่ประเมิน )และได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการและในเวลา 1 เดือน ได้รับการประเมินซ้ำ ผลผ่านการประเมินทั้ง 5 ด้าน
เด็กไทยอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ต่อ) กลุ่มเป้าหมาย เด็กอายุ 9, 18 , 30 และ 42 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผิดชอบที่ได้จากการสำรวจและมีเด็กอยู่จริง ค่าเป้าหมาย เด็กไทยอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ผลประเมินพัฒนาการครั้งแรกพบสงสัยล่าช้าไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 เด็กที่พบสงสัยล่าช้าในครั้งแรกได้รับการติดตาม กระตุ้นพัฒนาการในเวลา 1 เดือน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1.บันทึกข้อมูลในโปรแกรมหลักของสถานบริการ ส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม 2.ศูนย์อนามัย รวมรวบข้อมูล วิเคราะห์ เขียนรายงานรายไตรมาส ส่ง กรมอนามัย แหล่งข้อมูล สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ระยะเวลาประเมินผล รายไตรมาส
ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 83 84 85 86 87
มาตรการสำคัญ ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย การใช้กลไกการบริหารจัดการผ่านคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัด/กทม. และMCH Board มีการประชุมทุกไตรมาส การคัดกรองพัฒนาการเด็กหากพบเด็กสงสัยล่าช้า ติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและประเมินซ้ำภายใน 30 วัน (DSPM/DAIM) สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง เลี้ยงดูเด็กโดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (Passport of life) ใช้กระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ป้องกันอุบัติเหตุ การใช้มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ( พรบ. ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.....) สนับสนุนชุมชนท้องถิ่นจัดทำแผนระดับตำบลเพื่อการพัฒนาเด็กองค์รวมอย่างมีส่วนร่วม รัฐ เอกชน ประชาสังคม สื่อสารสังคมด้วยการส่งความรู้ข้อความสั้นตามโครงการ SMS ครอบครัวผูกพัน เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ขับเคลื่อนการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยผ่านศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศ
Small Success : รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1.ประชุมคณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดขับเคลื่อนงาน และMCH board และมีรายงานการประชุม 2. มีแผนงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามบริบทปัญหาของพื้นที่ 3.หญิงตั้งครรภ์และมารดาที่มีลูกต่ำกว่า 6 ปีสมัครรับ SMS ครอบครัวผูกพันฯ 4.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 5. เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาร้อยละ 90 1.ทุก รพ. มีผู้รับผิดชอบงาน ผ่านการอบรมหลักสูตรนักส่งเสริมพัฒนาการหลักสูตรเร่งรัดของกรมอนามัยและผ่านหลักสูตรมิสนมแม่ 2.หญิงตั้งครรภ์และมารดาที่มีลูกต่ำกว่า 6 ปีสมัครรับ SMS ครอบครัวผูกพันฯ 3. จัดกิจกรรม กิน กอด เล่ม เล่า เฝ้าดูช่องปาก และนอน 4.จังหวัดสนับสนุนให้ อปท.จัดทำแผนพัฒนาเด็กองค์รวมอย่างมีส่วนร่วม 5.รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาอุปสรรคและปรับแผนงานโครงการ 6.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 7. เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับ การติดตามเกกระตุ้นพัฒนา ร้อยละ 90 1.จังหวัดมีต้นแบบศูนย์เด็กเล็กวัยเตาะแตะ(3เดือน-2ปีครึ่ง) 2.จังหวัดมีต้นแบบ การให้ความรู้ทักษะการเลี้ยงดูเด็กตามเกณฑ์โรงเรียนพ่อแม่อย่างน้อย 1 แห่ง 3.จังหวัดมีมุมเล่นตามรอยพระยุคลบาทฯใน WCC อย่างน้อย 1 แห่ง 4. เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 5.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาร้อยละ 90 1.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 2.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนา ร้อยละ 90 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 4.รายงานสถานการพัฒนาการณ์เด็กปฐมวัยครั้งที่ 6 (DENVER II )
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เปรียบเทียบปี 2559 กับปี 2560 (ไตรมาส 1&2) ที่มา : http://hdcservice.moph.go.th ณ วันที่ 25 เมษายน 2560
โอกาสในการพัฒนา นำข้อมูลและองค์ความรู้เชิญชวนภาคีลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยแต่ในครรภ์ มุ่งพัฒนาเด็กในศูนย์เด็กเล็ก คิดสร้างสรรค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรอบรมครูพี่เลี้ยงเด็กให้เรียนรู้ด้วยสื่อ Digital และทดสอบมาตรฐานความรู้ ทักษะ การดูแลเด็กเป็นระยะ 4. สร้างพ่อแม่ต้นแบบ ใช้การอ่านเล่าเป็นเครื่องมือ “อ่านทุกบ้าน อ่านทุกวัน อัศจรรย์สมองลูก” 5. สนับสนุนท้องถิ่นสร้างลานเล่นพัฒนาสมองลูกน้อย”ลานล่นตามรอยพระยุคลบาทรัชการที่ ๙” 6. พัฒนาระบบ Coaching เทคนิคการประเมิน การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม แบบเกาะ ติดสถานการณ์ 7. ผลักดันให้ประชุม MCH Board อย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนข้อมูลพร้อมทั้งนำเสนอข้อมูลต่ออนุเด็กปฐมวัยจังหวัดและสะท้อนข้อมูลในการดำเนินงานสู่พื้นที่