หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเตรียมคำขอรับ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Conic Section.
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
ตอนที่ 2.
Infix to Postfix มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
ทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน (Boolean algebra laws)
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
Java collection framework
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
เลขยกกำลัง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x a = a 2 a x a x a = a 3 a x a x a x a = a 4.
LOGO “ Add your company slogan ” กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1.
Operator of String Data Type
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมนอกและมุมภายใน
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
รศ. ดร. บุญธีร์ เครือตราชู รศ. กฤตวัน ศิริบูรณ์ KMITL Data Structures & Algorithms : Stack & Queue 1 Stack & Queue Lecturers : Boontee Kruatrachue.
Queue Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao.
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน (ง่าย ๆ)
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
Nakhonsawan school create by rawat saiyud
ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : 2. ระบบย่อยในการจัดการตัวแบบ
Concept of Programing.
Stack Sanchai Yeewiyom
Single replication Experiments งานทดลองที่ทำเพียงซ้ำเดียว
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
สัญลักษณ์.
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
การปกครองท้องถิ่น.
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน Normalization Process
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
แนวทางการบริหารจัดการงานสอบบัญชี
สิทธิทางปัญญาและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
Calculus I (กลางภาค)
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
บทที่ 2 การวัด.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
วิธีใช้ Google form สร้างแบบสอบถามออนไลน์.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (Probability of an event)
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
วิธีตั้งค่าคีย์บอร์ด (ภาษาจีน) บนคอมพิวเตอร์
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 2 การวัด.
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
Chapter 5: Function.
Stack (Push Down Stack)
เส้นขนาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเตรียมคำขอรับ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร นิศาชล ศศานนท์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ กรมทรัพย์สินทางปัญญา โทร. 025474661

สิ่งที่ควรทราบก่อนการจัดเตรียม คำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตร ลักษณะและข้อบกพร่องของงานที่ปรากฏอยู่แล้ว ลักษณะและโครงสร้างของการประดิษฐ์ แนวโน้มการปรับปรุง(ต่อยอด)ที่อาจเป็นไปได้

คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การจัดเตรียมคำขอจะต้องสอดคล้องกับ มาตรา 17 แห่ง พ.ร.บ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ สิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และ พ.ร.บ สิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 กฎกระทรวง ฉบับที่ 21 พ.ศ. 2542 ประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา เรื่องการกำหนดแบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร คำขอถือสิทธิวันยื่นคำขอในต่างประเทศเป็นครั้งแรก และ เอกสารประกอบคำขอดังกล่าว และจำนวนสำเนา

สรุปสาระสำคัญในการจัดเตรียมคำขอ ใช้กระดาษปอนด์สีขาวเรียบ ไม่มีเส้น ขนาด A4 โดยใช้หน้าเดียวตามแนวตั้ง เว้นแต่รูปเขียนอาจใช้แนวนอนได้ ระบุหมายเลขประจำหน้า และจำนวนหน้าทั้งหมดไว้กลางหน้ากระดาษด้านบนของทุกหน้า ตามลำดับ ตัวอย่าง : หน้า 1 ของจำนวน 4 หน้า มีหมายเลขกำกับไว้ที่ด้านซ้าย ทุก 5 บรรทัดตามลำดับ ข้อความในรายละเอียดการประดิษฐ์ ข้อถือสิทธิ และบทสรุปการประดิษฐ์

สรุปสาระสำคัญในการจัดเตรียมคำขอ ใช้หน่วยที่แสดงน้ำหนัก และหน่วยการวัดปริมาณอื่นตามหลักสากล ใช้ถ้อยคำเป็นศัพท์เฉพาะ เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ที่ใช้กันทั่วไปในศิลปะหรือวิทยาการนั้นๆ ไม่ขูดลบ แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือ มีคำหรือข้อความใดๆระหว่างบรรทัด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ในกรณีจำเป็น โดยไม่เกิดความสับสนหรือเข้าใจผิด

สิทธิบัตรการประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตร การจัดเตรียมคำขอรับ สิทธิบัตรการประดิษฐ์/อนุสิทธิบัตร แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร รายละเอียดการประดิษฐ์ ข้อถือสิทธิ รูปเขียน ( ถ้ามี ) บทสรุปการประดิษฐ์ เอกสารประกอบคำขอ

แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร แบบ สป/สผ/อสป/001-ก แบบ สป/สผ/อสป/001-ก (พ) (Form PI/PD/PP/001-A (add)) แบบ สป/สผ/อสป/002-ก กรณีขอถือสิทธิให้ถือวันยื่นคำขอในต่างประเทศเป็นครั้งแรกเป็นวันยื่นคำขอในประเทศไทย

แบบพิมพ์คำขอ

รายละเอียดการประดิษฐ์ ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ ลักษณะและความมุ่งหมายของการประดิษฐ์ สาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวข้อง การเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์ คำอธิบายรูปเขียนโดยย่อ ( ถ้ามีรูปเขียน ) วิธีการในการประดิษฐ์ที่ดีที่สุด 8. การนำการประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทาง อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม หรือ พาณิชยกรรม ( กรณีไม่สามารถเข้าใจได้จากลักษณะของการประดิษฐ์ )

1. ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ เป็นการแสดงให้ทราบว่าการประดิษฐ์นี้เป็นการประดิษฐ์ เกี่ยวกับอะไร และมีลักษณะของการประดิษฐ์อย่างชัดเจน เช่น ยาสระผมที่มีสารแต่งกลิ่น กระถางเพาะปลูกที่มีระบบ การรักษาความชื้นคงที่ เป็นต้น จะต้องไม่ใช้ชื่อที่ตั้งขึ้นเอง หรือเป็นการอวดอ้างสรรพคุณ เช่น ระบบการส่งมหัศจรรย์ หรือกล้องเอนกประสงค์สมศรี

2. สาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ จะต้องระบุสาขาวิทยาการของการประดิษฐ์ว่าจัดอยู่ใน เทคโนโลยี หรือสาขาวิชาการใด เช่น เคมีอุตสาหกรรม เคมีเกษตรในส่วนที่ เกี่ยวกับยาฆ่าวัชพืช วิศวกรรมไฟฟ้า เป็นต้น 3. ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวข้อง เป็นการบรรยายถึงลักษณะของการประดิษฐ์นั้นๆ ที่มีอยู่แต่เดิม ตลอดจนข้อบกพร่อง หรือปัญหาทางเทคนิคที่เกิดขึ้น อันทำให้ผู้ ประดิษฐ์บังเกิดความคิดต้องการแก้ไขปัญหาต่างๆ ดังกล่าว เพื่อที่ แสดงให้เห็นว่าการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรนั้นแตกต่าง กับงานที่ปรากฏอยู่ก่อนนั้นอย่างไร

4. ลักษณะและความมุ่งหมายของการประดิษฐ์ เป็นส่วนที่ระบุถึงลักษณะทางเทคนิคของการประดิษฐ์ที่ได้คิด ขึ้นโดยย่อรวมทั้งวัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์ดังกล่าว 5. คำอธิบายรูปเขียนโดยย่อ (ถ้ามี) เป็นการบรรยายความหมายของรูปเขียนเหล่านั้น

6. การเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์ เป็นการบรรยายถึงรายละเอียดของการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรว่ามีลักษณะโครงสร้าง องค์ประกอบ ขั้นตอนต่างๆ ผลดีของการประดิษฐ์ตลอดจนตัวอย่างที่จะแสดงถึงการประดิษฐ์นั้นๆ และผลการทดลอง ทดสอบเปรียบเทียบ (ถ้ามี) โดยสมบูรณ์ และชัดแจ้ง พอที่จะทำให้ผู้มีความชำนาญในระดับสามัญในศิลปวิทยาการนั้นๆ สามารถเข้าใจในการประดิษฐ์นั้นได้ และสามารถปฏิบัติตามได้

7.วิธีการในการประดิษฐ์ที่ดีที่สุด เป็นการอธิบายถึงวิธีการประดิษฐ์ที่ผู้ขอพบว่า เป็นวิธีการที่ดีที่สุด หรืออาจจะเขียนได้ว่า “ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ การเปิดเผยการ ประดิษฐ์โดยสมบูรณ์” 8. การประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรม เป็นการแสดงให้เห็นว่าการประดิษฐ์นั้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการผลิตทางอุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรม เกษตรกรรม และ พาณิชยกรรม ซึ่งหัวข้อนี้จะไม่ปรากฏในรายละเอียดการประดิษฐ์ก็ ได้ ถ้าสามารถเข้าใจได้ในการประดิษฐ์

กรณีคำขอรับอนุสิทธิบัตรจะระบุข้อถือสิทธิได้ไม่เกิน 10 ข้อ ต้องระบุลักษณะทางเทคนิคของการประดิษฐ์ที่ผู้ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ประสงค์จะขอรับความคุ้มครองโดยสมบูรณ์ ต้องชัดแจ้ง รัดกุม รวมทั้งต้องสอดคล้องกับรายละเอียดการประดิษฐ์ โดยระบุเป็นข้อๆ กรณีคำขอรับอนุสิทธิบัตรจะระบุข้อถือสิทธิได้ไม่เกิน 10 ข้อ

การร่างข้อถือสิทธิควรคำนึงถึง ความชัดเจนของข้อถือสิทธิแต่ละข้อ ได้รับความคุ้มครองมากที่สุดภายในขอบเขตที่ประดิษฐ์ขึ้น ทั้งนี้ต้องไม่กว้างจนไม่มีขอบเขต

จะได้รับความคุ้มครองเฉพาะส่วนที่ได้มีการพัฒนาหรือปรับปรุงขึ้น เช่น ขอบเขตข้อถือสิทธิ จะได้รับความคุ้มครองเฉพาะส่วนที่ได้มีการพัฒนาหรือปรับปรุงขึ้น เช่น การประดิษฐ์ ZZZ เป็นการประดิษฐ์ที่มีมาก่อน ประกอบด้วยสองส่วน (A+B) นาย ก. ปรับปรุงการประดิษฐ์ ZZZ โดยเพิ่มส่วนที่ 3 (A+B+C) นาย ก. ได้รับการคุ้มครองเฉพาะส่วน C นาย ข. ปรับปรุงการประดิษฐ์ ZZZ ต่อยอดจากการประดิษฐ์ของ นาย ก. โดยเพิ่มส่วนที่ 4 (A+B+C+D) นาย ข. ได้รับการคุ้มครองเฉพาะส่วน D

ตัวอย่างข้อถือสิทธิ ข้อถือสิทธิ 1. ถุงมือกอล์ฟที่มีลักษณะเป็นถุงมือ ที่มีลักษณะเฉพาะคือ ช่องสำหรับใส่นิ้วมือจะแบ่งออกเป็น 4 ช่อง โดยที่มีช่องใส่นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วชี้ และนิ้วก้อยอย่างละหนึ่งช่อง ส่วนอีกช่องหนึ่งสำหรับใส่นิ้วกลางและนิ้วนางไว้ด้วยกัน โดยที่ปลายด้ายบนของถุงมือสำหรับใส่นิ้วกลางและนิ้วนางดังกล่าว จะมีรอยหยักสอดคล้องกับปลายนิ้วมือทั้งสองอย่างพอดีกัน เพื่อช่วยให้การจับไม้กอล์ฟมีความกระชับมากขึ้น และถุงมือกอล์ฟนี้สามารถตัดเย็บให้ใช้ได้ทั้งมือซ้ายและมือขวา

รูปเขียน (ถ้ามี) กรณีที่รูปเขียนทำให้สามารถเข้าใจการประดิษฐ์ได้ดีขึ้น ต้องจัดทำรูปเขียนที่เขียนตามหลักวิชาการเขียนแบบ มีหมายเลขแสดงชิ้นส่วน หรือรูปถ่ายที่มีลักษณะเฉพาะที่ไม่สามารถเขียนให้เหมือนได้ บทสรุปการประดิษฐ์ ระบุถึงลักษณะทางเทคนิคของการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรโดยย่อ รัดกุม ชัดแจ้ง และมีถ้อยคำไม่เกิน 200 คำ ไม่ระบุผลดีหรือประโยชน์ของการประดิษฐ์ ตลอดจนวิธีการใช้การประดิษฐ์ที่ไม่แน่นอน

เอกสารประกอบ หนังสือโอน หนังสือมอบอำนาจ หนังสือรับรองที่ออกไว้ก่อนล่วงหน้าไม่เกิน 6 เดือน เป็นต้น

การจัดเตรียมคำขอรับสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร คำพรรณนาแบบผลิตภัณฑ์ ( ถ้ามี ) ข้อถือสิทธิ ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ์ เอกสารประกอบคำขอ

แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร แบบ สป/สผ/อสป/001-ก แบบ สป/สผ/อสป/001-ก (พ) (Form PI/PD/PP/001-A (add)) แบบ สป/สผ/อสป/002-ก กรณีขอถือสิทธิให้ถือวันยื่นคำขอในต่างประเทศเป็นครั้งแรกเป็นวันยื่นคำขอในประเทศไทย

แบบพิมพ์คำขอ

คำพรรณนาแบบผลิตภัณฑ์ (ถ้ามี) ในกรณีที่แบบผลิตภัณฑ์เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะแปลกใหม่ ผู้ขอสามารถยื่นคำพรรณนาแบบผลิตภัณฑ์เพิ่มเติมได้ โดยให้อธิบายถึงหน้าที่ใช้สอย หรือลักษณะการใช้งาน หรือลักษณะทางกายภาพของแบบผลิตภัณฑ์ แต่ต้องไม่เกิน 100 คำ ทั้งนี้ คำพรรณนาแบบผลิตภัณฑ์ไม่มีผลต่อการคุ้มครองผลิตภัณฑ์นั้น

ข้อถือสิทธิ *ให้ระบุเพียงข้อเดียว (กฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2542)) *ให้ระบุเพียงข้อเดียว (กฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2542)) สามารถขอรับความคุ้มครองได้ ดังนี้ 1) รูปร่างลักษณะ ลวดลาย และสีของผลิตภัณฑ์ 2) รูปร่างลักษณะและลวดลายของผลิตภัณฑ์ 3) รูปร่างลักษณะและสีของผลิตภัณฑ์ 4) ลวดลายและสีของผลิตภัณฑ์ 5) รูปร่างลักษณะของผลิตภัณฑ์ 6) ลวดลายของผลิตภัณฑ์

ตัวอย่างข้อถือสิทธิ ข้อถือสิทธิ ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้แก่รูปร่างลักษณะของ “โทรศัพท์มือถือ” ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้เสนอมานี้

ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย รูปด้านหน้า ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย ประกอบด้วย รูปด้านหน้า ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย ด้านขวา และทัศนียภาพของผลิตภัณฑ์ *ภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ์ จะเป็นภาพถ่ายหรือภาพเขียนก็ได้

กรณีภาพถ่าย ภาพถ่ายของผลิตภัณฑ์ต้องเป็นรูปขาว – ดำ เว้นแต่ ประสงค์ขอความคุ้มครองในสีด้วย * มีแบคกราวน์ของภาพเป็นสีพื้นเรียบ กรณีภาพเขียน เป็นไปตามหลักวิชาการเขียนแบบ

ตัวอย่างการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับ รูปร่างหรือรูปทรงของผลิตภัณฑ์

ตัวอย่างการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับ ลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑ์

เอกสารประกอบ หนังสือโอน หนังสือมอบอำนาจ หนังสือรับรองที่ออกไว้ก่อนล่วงหน้าไม่เกิน 6 เดือน เป็นต้น

ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 500 บาท ยื่นคำขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 250 บาท ยื่นคำขอรับอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 250 บาท คำขอแก้ไขเพิ่มเติม 50 บาท การประกาศโฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร 250 บาท รับจดทะเบียนและประกาศโฆษณาอนุสิทธิบัตร 500 บาท คำขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ (กรณีการประดิษฐ์) 250 บาท รับจดทะเบียนและออกสิทธิบัตร 500 บาท คำคัดค้าน 250 บาท คำอุทธรณ์ 500 บาท คำขอเปลี่ยนแปลงประเภทของสิทธิ 100 บาท http://www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=view&id=176&Itemid=206

ขั้นตอนการขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ จัดเตรียมคำขอ (50) ยื่นคำขอ (500) แก้ไขฯ (250) (100) ตรวจสอบเบื้องต้น ชำระค่าธรรมเนียมการประกาศโฆษณา ขอแปลงเป็นอนุสิทธิบัตร ประกาศโฆษณา 08/04/62

ยื่นคำขอให้ตรวจสอบ(250) ประกาศโฆษณา ยื่นคำขอให้ตรวจสอบ(250) ผู้ขอไม่ยื่นฯ ละทิ้งคำขอ ส่งผลการตรวจสอบ ตรวจค้นเอกสาร ผู้ขอยื่นแก้ไข/ชี้แจงภายใน 90 วัน ผู้ขอไม่แก้ไขฯ แจ้งผู้ขอ แก้ไข/ชี้แจง ตรวจสอบการประดิษฐ์ตาม ม.5 ไม่ถูกต้อง ละทิ้งคำขอ 08/04/62

ตรวจสอบการประดิษฐ์ตาม ม.5 ชำระค่าธรรมเนียม (500) ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ผู้ขอไม่ชำระฯ ออกสิทธิบัตร ยกคำขอ ละทิ้งคำขอ ยื่นอุทธรณ์ (500) ภายใน 60 วัน 08/04/62

ขั้นตอนการขอรับอนุสิทธิบัตร จัดเตรียมคำขอ ยื่นคำขอ (250) (50) (500) แก้ไขฯ ชำระค่าธรรมเนียมออกอนุสิทธิบัตรและการประกาศโฆษณา ตรวจสอบเบื้องต้น (100) ขอแปลงเป็นสิทธิบัตร ประกาศโฆษณาการจดทะเบียนการประดิษฐ์และออกอนุสิทธิบัตร ยื่นคำขอให้ตรวจสอบ (250) ตรวจสอบการประดิษฐ์ 08/04/62

ขั้นตอนการขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ จัดเตรียมคำขอ ยื่นคำขอ (250) (50) (250) ตรวจสอบเบื้องต้น แก้ไขฯ ชำระค่าธรรมเนียมการประกาศโฆษณา ประกาศโฆษณา ตรวจค้นเอกสาร (500) ตรวจสอบการออกแบบ รับจดทะเบียน 08/04/62

สถานที่ยื่นคำขอจดทะเบียนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร การยื่นขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร จะต้องยื่น คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร พร้อมชำระค่าธรรมเนียม ได้ที่ ส่วนบริหารงานจดทะเบียน สำนักสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา โทร. 0-2547-4637 www.ipthailand.go.th หรือ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดทุกแห่ง

คำถาม ขอบคุณ 43