ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

2 ลำดับจังหวัดกล้องแผนงาน 15- มิ. ย.30- มิ. ย. ร้อยละเพิ่มขึ้น 1 นครสวรรค์ *** 2 8,6005,8067, , อุบลราชธานี *** 3 12,9004,2295, ,
แผนงานสำรวจรังวัดแปลงเกษตรกรรมและปิดพื้นที่ ปีงบประมาณ 2557 ภาค / จังหวัด ช่าง สำรวจ จว. จำนวน กล้อง จว. แผนปิดอำเภอ ปี 57 ( ไร่ ) แผนรังวัด เกษตร ( ไร่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา เด็กนักเรียนไทย ปี 2554
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
EFFECTIVE REDUCTION MATERNAL MORTALITY RATIO
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
COMPETENCY DICTIONARY
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
คณะทำงานสาขามารดาและ ทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12 (MCH Board)
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ผังพื้นที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ข้อมูล ต.ค.59 – ม.ค.60 )
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
3 Eye Service Plan : Health Area.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา

เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาไตรมาส 1 (ต.ค.-ธ.ค.59) ปีงบประมาณ 2560 ราย ที่มา: รายงาน แม่ตายรอบ 3 เดือน (เดือน ต.ค. –ธ.ค.59) กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ

เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาไตรมาส 1 และ 2 ปีงบประมาณ 2560 เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาไตรมาส 1 และ 2 ปีงบประมาณ 2560 ที่มา: รายงาน แม่ตายรอบ 6 เดือน (เดือน ต.ค. 59 – มี.ค.60) กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ

เปรียบเทียบจำนวนการตายมารดาในช่วงเวลาเดียวกัน ปี2559 – 2560 (ต.ค.– มี.ค.) ราย ที่มา: ปี 2559 รายงานแม่ตายรอบ 6 เดือนแรก กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ (เดือน ต.ค. 58 – มี.ค.59) ปี 2560 รายงาน แม่ตายรอบ 6 เดือนแรก กลุ่มอนามัยแม่และเด็กสำนักส่งเสริมสุขภาพ (เดือน ต.ค. 59 – มี.ค.60)

สาเหตุการตายมารดา (ตค.59-มี.ค.60) N = 60 สสสาเหตุทางตรง สาเหตุทางอ้อม ไม่ระบุสาเหตุ ที่มา:สำนักส่งเสริมสุขภาพ

จังหวัดที่มีมารดาตายจากการตกเลือด (ตค.59-มี.ค.60) เขตสุขภาพ จังหวัด ราย 1 น่าน พะเยา 2 ตาก 4 3 พิจิตร ปทุมธานี สุพรรณบุรี 5 ฉะเชิงเทรา 7 ขอนแก่น 8 อุดรธานี 11 สุราษฎร์ธานี 12 ปัตตานี ตรัง นราธิวาส รวมทั้งสิ้น 19 ราย ที่มา : สำนักส่งเสริมสุขภาพ 29/05/60

(ตค.59-มี.ค.60) จังหวัดที่มีมารดาตายจากความดันโลหิตสูง เขตสุขภาพ จังหวัด ราย 1 เชียงใหม่ 3 12 ปัตตานี ตรัง นราธิวาส รวมทั้งสิ้น 6 ราย ที่มา : สำนักส่งเสริมสุขภาพ 29/05/60

การวิเคราะห์ปัญหาแม่ตาย เขตสุขภาพที่ 2 การวิเคราะห์ปัญหาแม่ตาย เขตสุขภาพที่ 2 มารดาชาวไทยภูเขา ตกเลือดเสียชีวิต จำนวน 4 ราย จาก อ.ท่าสองยาง 2 ราย อ.แม่ละมาด 1 ราย อ.แม่สอด 1 ราย ปัญหา 1.วัฒนธรรมชาวเขา ยังคลอดที่บ้านด้วยผดุงครรภ์โบราณ 2.ระยะทางที่ลำบากและห่างไกล

การวิเคราะห์ปัญหามารดาตาย เขต 12 ยะลา Delay Detection ขาดทักษะในการประเมินภาวะเสี่ยง ใน ANC LR Delay diagnosis Delay Refer ระบบยังรองรับไม่เต็มที่ ขาดที่ปรึกษา / พี่เลี้ยง

ข้อเสนอแนะ 1.หน่วยบริการสาธารณสุข เน้นการคัดกรอง และการดูแล high risk pregnancy และมีการทำมาตรการ/กิจกรรมในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา poor ANC ,no ANC 2.ในการดูแลภาวะตกเลือดหลังคลอดด้วยยา มีระยะเวลาที่ใช้ประเมิน 30 นาทีว่าเลือดหยุด หรือไม่ ถ้าไม่หยุดพิจารณาใช้ Condom Ballooning Technique และประสานการส่งต่อ แบบ fast track obstetrics 3.พัฒนาระบบการ Consult และส่งต่อแบบ fast tract obstetrics ในภาวะวิกฤติ เช่น PPH ,PIH 4.หน่วยบริการควรมี Standing Order ในบางเรื่องที่สำคัญเช่น PPH, Severe PIH, Eclampsia -ส่วนกลางผลักดันให้พื้นที่ดำเนินการผ่านคณะกรรมการ Service plan และคณะกรรมการ อนามัยแม่และเด็ก (26 มิถุนายน 60)

สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป ศึกษาผลกระทบการตายมารดาต่อทารก (ข้อมูลย้อนหลังจากHDC) - แรกคลอด - พัฒนาการตามช่วงอายุ 9 18 30 42 เดือน - ในกรณีที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า ผลการกระตุ้นพัฒนาการเป็นอย่างไร 2. พัฒนาโปรแกรมลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์และคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ เพื่อ smart preg.สู่ smart kid

สวัสดี