- Introduction (punya)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Applied Geochemistry Geol รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจว รรณ รัตนเสถียร ภาควิชาธรณีวิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Advertisements

School of Polymer Engineering Suranaree University of Technology 1.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
E-Commerce Chapter 1 Introduction to e-commerce
Roadmap RUN for Thailand 4.0
Report การแข่งขัน.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
Applications of RM Ski Slopes Pocket Wifi REVENUE MANAGEMENT.
Information Systems Development
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
การประเมินปริมาณแร่สำรองและความสมบูรณ์ (Reserve and Grade Estimation)
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
Geochemical Exploration
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการองค์ความรู้
(Introduction to Soil Science)
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
วิทยากร : ธรรศ ทองเจริญ
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
Project Feasibility Study
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
กฎหมายอาญา(Crime Law)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร อ่อนประไพ
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
การเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
การเมืองไทยในปัจจุบัน
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
Chapter I Introduction to Law and Environment
การประเมินราคา (Cost estimation).
ลักษณะทั่วไปของการขนส่ง Transport General Features
การใช้ภาษาไทยเบื้องต้น 3(3-0)
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

- Introduction (punya) Course outline - Introduction (punya) - Geological investigation (punya) - Remote sensing investigation (kritsanapol) Geochemical Investigation (punya) Geophysical Investigation (veera) - Drilling exploration & subsurface investigation (Pakdeepong) Reserve estimation (Pakdeepong) -Ore deposit model (punya) Exploration law and Report writing (punya) -

แนวคิดพื้นฐาน (General Consideration) บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน (General Consideration)

การสำรวจแร่ (Mineral exploration) เป็น วิชาทางวิทยาที่ศึกษาถึงขั้นตอนการสำรวจแหล่งแร่ ตั้งแต่การเริ่มต้นคิดวางแผนการสำรวจ การเลือกบริเวณของการสำรวจ ไปจนถึงประเมินผลการสำรวจว่ามีแร่มีค่ามากเท่าใดเละมีคุณภาพเป็นอย่างไร

การสำรวจแร่และการแสวงหาแร่ (Exploration and Prospecting) การสำรวจแร่ คือ ขั้นตอนทั้งหมดของการทำงาน ตั้งแต่เริ่มคิดวางแผนสำรวจ ไปจนถึงการค้นหาแร่ โดยอาศัยหลักวิชาการและเทคโนโลยีเข้าช่วย เป็นการศึกษาอย่างกว้างๆ ส่วนการแสวงหาแร่ เป็นการศึกษารายละเอียดเฉพาะแหล่งของตัวชี้วัดนั้น การสำรวจแร่มีขึ้นเนื่องจากการเกิดปัญหาวิกฤตการณ์ประชากร จากการที่ประชากรเพิ่มขึ้น ทำให้ needs หรือความต้องการ และอุปสงค์ (demand) ของอาหารและวัตถุดิบ energy and mineral และ mineral exploration มีความสัมพันธ์ดังนี้

แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการสำรวจกับประชากร

แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการสำรวจกับภาวะทางเศรษฐกิจ

Mineral Exploration and Economics เมื่อการสำรวจมีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจ ดังนั้นถ้าวัตถุดิบขาดแคลน ผลที่ตามมาคือราคาสินค้าจะสูงขึ้นจนผู้บริโภคไม่สามารถซื้อได้ ทำให้ต้องเพิ่มการสำรวจเพื่อตอบสนองความต้องการที่สูงขึ้น

แผนภูมิแสดงความต้องการวัตถุดิบในสังคมมนุษย์

แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานด้านการสำรวจแหล่งแร่จนถึงการผลิตวัตถุดิบ

ในแง่เศรษฐกิจราคาสินค้ามักเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของผู้ซื้อและจำนวนของที่มีขาย โดยราคาสินค้าจะเพิ่มขึ้นถ้าความต้องการสินค้ามีมากกว่าปริมาณสินค้า นั่นคิอการขยายตัวของอุปสงค์มากกว่าอุปทาน ในทางตรงข้าม ถ้าผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าน้อยกว่าปริมาณสินค้าจะทำให้ราคาสินค้าลดลง แต่ถ้าขยายตัวเท่ากัน จะทำให้ราคาสินค้าคงที่ในที่สุด

ความสัมพันธ์ของราคาและ ปริมาณวัตถุดิบกับอุปทาน ความสัมพันธ์ระหว่างราคา และปริมาณกับอุปสงค์

ความสัมพันธ์ระหว่างอุปสงค์และอุปทานกับดุลยภาพแห่งราคาและปริมาณ

การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทานเมื่อเกิดการขาดแคลนวัตถุดิบหรือปริมาณวัตถุดิบลดลง

การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทานเมื่อราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น

ตัวอย่าง ข้อมูลเรื่องหินอ่อน-หินแกรนิต (block) ของสภาการเหมืองแร่ (ฉบับที่ 5 , 2536) อธิบายถึงการกำหนดราคาหินบล๊อค เมื่อปริมาณการผลิตและปริมาณความต้องการใช้เพิ่มขึ้น โดยใช้เส้นอุปสงค์และอุปทานของหินมาเป็นตัวอธิบาย จากข้อมูลราคา และปริมาณการผลิตหินอ่อนและแกรนิต พบว่าแนวโน้มของระดับราคาหิน block ค่อนข้างคงที่ ในขณะที่การผลิตเพิ่มขึ้นตลอด กล่าวคือ อัตราการเพิ่มของการผลิต (อุปทาน) อยู่ในระดับเดียวกันหรือใกล้เคียงกับอัตราเพิ่มขึ้นของความต้องการใช้ (อุปสงค์) ซึ่งส่งผลให้ราคานั้นคงที

ระดับราคาคงที่เนื่องจากราคาขยายตัวที่เท่ากันของอุปสงค์และอุปทานของหินประดับ

ระดับราคาสูงขึ้นเนื่องจากการขยายตัวของอุปสงค์มากกว่าอุปทานของหินประดับ

การสำรวจแร่ในอดีตและปัจจุบัน (Past and Present - day Exploration) การเปรียบเทียบการสำรวจในอดีตและปัจจุบันในด้านต่างๆมีดังนี้ ความต้องการและประชากร อดีต : มีความต้องการแร่ต่ำ เนื่องจากประชากรน้อย จึงไม่เกิดความขาดแคลน ปัจจุบัน : มีความต้องการแร่สูงขึ้น เนื่องจากประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงเกิดปัญหาความขาดแคลน

กราฟแสดงผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ซึ่งได้จากทรัพยากรธรณีกลุ่มต่างๆ

กราฟแสดงอัตราส่วนระหว่างการลงทุนในตลาดกับ GDP (แกน y) กับปีพ. ศ

ต้นทุนการผลิต (cost) และราคาสินค้า (price) อดีต : ส่วนใหญ่แร่มีราคาถูก ต้นทุนการผลิตต่ำเนื่องจากแร่มีความสมบูรณ์สูง ปัจจุบัน : ต้นทุนการผลิตสูงเนื่องจากแหล่งแร่มีความสมบูรณ์ลดลง , พยายามหาแร่ที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ เช่น พลอย หรือพยายามหาแร่ที่มีราคาแพง เช่นในภาวะสงคราม ได้แก่ ทังสเตน นิเกิล หรือแร่หายาก เทคโนโลยีและเครื่องมือ (Technology and Equipment) อดีต : สมัยก่อนหลายคนรู้ว่าสินแร่ Al มาจากบอกไซต์ แต่ต่อมาก็รู้ว่าตะกอนพวก pelletic ก็มี Al มากเหมือนกันแต่เทคโนโลยีการถลุงเอื้อให้เนื่องจากราคาแพงมาก ปัจจุบัน : มีการใช้เทคโนโลยีสูงขึ้น เช่น GPS ในการหาตำแหน่งแทนเข็มทิศ

ความกดดันทางการเมืองและภายนอก (Political and External pressure) ความผันผวนทางการเมืองในไทยไม่ค่อยมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจมากนัก จะเห็นได้จากการเกิดพฤษภาทมิฬ ซึ่งเป็นเรื่องทางการเมืองแต่ไม่มีผลทำให้เศรษฐกิจเกิดการชะลอตัวมากนัก แต่ผลกระทบจากภายนอก เช่นในปี 2540 เนื่องจากการเก็งกำไรค่าเงินบาทของนักลงทุนทางการเงินต่างชาติและการปล่อยค่าเงินบาทลอยตัวอย่างฉับพลันทำให้การสำรวจลดลงอย่างทันทีด้วย ความรู้ (knowledge) อดีต : ใช้ความรู้น้อยในการสำรวจ ปัจจุบัน : ใช้ความรู้มากขึ้น เนื่องจากมีข้อมูลมากขึ้น เทคโนโลยีสูงขึ้น

การหาแร่และค่าใช้จ่าย (Ore finding and cost of exploration) อดีต : หาง่ายเพราะความสมบูรณ์ยังสูง และเราหาแหล่งแร่ที่อยู่บนผิวดิน (surface deposit) ปัจจุบัน : แร่หายากขึ้นเพราะเหลือน้อยลงและเราหาแหล่งแร่ที่ถูกปิดทับ (concealed deposit) หรืออยู่ใต้ดิน การคมนาคมและการติดต่อสื่อสาร (Transportation and Communication) ปัจจุบันมีความสะดวกสบายมากขึ้น เส้นทางคมนาคมมีหลายทาง

ประสิทธิผลของการสำรวจแร่ (Optimization of Exploration) คือความเหมาะสมหรือประโยชน์สูงสุดในการสำรวจ คือต้องพยายามทำให้อัตราผลตอบแทน (rate return) อย่างต่ำ ต้องมากกว่าอัตราดอกเบี้ย (interest rate) หมายถึง ผลตอบแทนที่ได้รับต้องมากกว่าดอกเบี้ยรายปีในการฝากเงินธนาคาร สถาบันเงินฝากหรือต้นทุนของเงินลงทุนที่หามาได้ ตัวแปรที่สำคัญที่ทำให้เราทราบ optimization of exploration คือ วิธีการสำรวจ กระบวนการทางธรณีวิทยา

ความสำเร็จของการสำรวจแร่ (Exploration success) ตัววัดความสำเร็จของการสำรวจคือการหาแหล่งแร่ให้พบเพื่อนำแร่ขึ้นมาใช้ แต่ไม่รวมถึงความสำเร็จในการเปิดเหมืองใหม่ โดยมากการเริ่มต้นการสำรวจมักมีค่าประสบความสำเร็จต่ำมาก

ราคาและการใช้ประโยชน์จากแร่ ในการสำรวจแร่ สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่มีผลต่อการสำรวจแร่ คือราคาแร่ เช่นดีบุกในปัจจุบันมีราคาต่ำมาก เนื่องจากการใช้ประโยชน์มีจำกัดและถูกแทนที่ด้วยพลาสติก ทำให้ราคาดีบุกลดลง เหมืองดีบุกก็อยู่ไม่ได้ การสำรวจดีบุกจึงไม่จำเป็นอีกต่อไป ดังนั้นความรู้ความเข้าใจเรื่องราคาและประโยชน์ของแร่จึงเป็นสิ่งที่นักสำรวจต้องให้ความสำคัญ

ผลผลิตแร่บางตัวที่สำคัญในปี 1994 แร่ที่เป็นแร่โลหะแสดงด้วยตัวเอียง

ผลผลิตแร่โลหะและแร่อุตสาหกรรมบางตัวที่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ (%) จาก ค ผลผลิตแร่โลหะและแร่อุตสาหกรรมบางตัวที่เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ (%) จาก ค.ศ. 1970-1994

การพัฒนาเหมืองเปิด ในช่วงเริ่มต้น (แนว aa’) สินแร่ในสายแร่ถูกขุดออกไปมากกว่าส่วนที่เป็นดินเหนือแร่ แต่เมื่อเหมืองขุดลึกลงไปมากขึ้น อัตราส่วนระหว่างดินทิ้งกับสินแร่ก็มากขึ้น (จนถึงแนว bb’) ซึ่งลดลงจาก 1.6 ไปเหลือ1 (Barnes, 1988)

คำศัพย์ที่นักสำรวจควรรู้ในทางเหมืองแร่