การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Advertisements

การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Digital Logic and Circuit Design
Data representation (การแทนข้อมูล)
Number Representations
PARITY GENERATOR & CHECKER
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
RAM บทที่ 4.
Introduction to Digital System
Microprocessor and Interfacing PIC Flash Memory Segments 2K
รหัสคอมพิวเตอร์.
Introduction to Digital System
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เครื่องมือวัดดิจิตอล
ครั้งที่ 5 รหัสไบนารี (Binary Codes) และ วงจร Combinational
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Number system (Review)
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
ครั้งที่ 2 การบวกลบเลขฐานสอง (Binary Addition-Subtraction)
Half Adder Full Adder Carry Propagation P คือ Carry Propagate G คือ Carry Generate.
Flip-Flop บทที่ 8.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เครื่องมือวัดดิจิตอล
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
ระบบเลขฐาน.
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
การลดรูป Logic Gates.
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
ตัวมัลติเพลกซ์ ( Multiplexer )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
introduction to Computer Programming
การประเมินส่วนราชการ
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
ลำดับ A B C D CD AB.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2 บทที่ 7

การลบเลข กลับบิท แล้วบวกด้วย 1 ในคอมพิวเตอร์แท้จริงแล้วไม่สามารถลบได้ จะใช้การบวก ตัวลบ จะต้องมีการแปลงเป็น 2’s complement แล้วนำมาบวกกับตัวตั้ง วิธีหา 2’s complement กลับบิท แล้วบวกด้วย 1

วิธีหา 2’s complement 0111 1000 7 + 1 1001 0011 12 1100 + 1 0100

ทำการลบโดยการบวก กรณีตัวตั้งมากกว่าตัวลบ 12 - 7 1100 + 1001 10101 ตัดทิ้ง ได้ 1 แสดงว่า เป็นค่า + จะได้ 5

ทำการลบโดยการบวก กรณีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ 7 - 12 0111 + 0100 1011 1011 ได้ 0 แสดงว่า เป็นค่า - หา 2’s complement 0100 + 1 101 จะได้ -5

การสร้างวงจรลบ หากต้องการลบโดยไม่ใช้วิธี 2’s complement จะกล่าวถึง การประยุกต์ในภายหลัง (Full Subtractor)

ประโยชน์ของ 2’s complement ใช้แทนค่าลบของตัวเลขในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บใน RAM ใช้ signed bit 0 = ค่าลบ 1 = ค่าบวก signed bit สมมติว่าหน่วยความจำของเรามีขนาด 4 บิท จะได้ 24 = 16 ดังนั้น จะเหลือ 3 บิทเก็บข้อมูล ดังนั้นข้อมูลจริงๆมีจำนวน 23 = 8 0/1 xxx

24 = 16 ทั้งหมด 16 ค่า, 23 = 8 ค่า + และ - 24 = 16 ทั้งหมด 16 ค่า, 23 = 8 ค่า + และ - 0111 0110 0101 0100 0011 0010 0001 0000 1111 1110 1101 1100 1011 1010 1001 1000 7 6 5 4 3 2 1 -1 -2 -3 -4 -5 -6 -7 -8 + - 2’s complement

ถ้าหน่วยความจำ 8 บิทจะเก็บเลขได้เท่าไร ประกาศตัวแปร byte 28 = 256 หาร 2 ได้ 128 ดังนั้น ค่าบวกจะได้ = 0 ถึง 127 ค่าลบจะได้ –1 ถึง -128 127 01111111 … 00000001 00000000 11111111 10000001 10000000 int 16 บิท float 32 บิท -128

รหัส BCD Binary coded decimal ใช้แทนเลขฐาน 10 เลขฐาน 10 จำนวน 1 ตัว สร้างได้จากเลขฐาน 2 จำนวน 4 ตัว ตัวอย่าง 0100 0101 0101 0010 27 0010 0111 5 0100 0101

การตรวจสอบความผิดพลาดของ BCD code หากค่าเกิน 9 จะ ERROR (เลข 0-9) แก้ไขได้โดยบวกด้วย 6 เช่น 72 + 44 0111 0010 0100 0100 + 1011 0110 1011 + 0110 +6 ได้ 10001 1 1 6

Multiplexer แบบ 2 อินพุท เราสามารถนำข้อมูลจากหลายๆอินพุทมารวมกันให้ออกเป็น Output เดียวได้ เรียกว่า การ Multiplex วงจรที่ทำงานนี้คือ Multiplexer ใช้หลักการของการสลับข้อมูล ไปตามช่วงเวลาเล็กๆ 1 MUX 2 321 3

วงจร Multiplexer แบบ 2 อินพุท A ทำงานเป็น Address Input ซึ่งใช้เลือก Input ที่ต้องการส่งข้อมูล

การทำงาน อินพุทที่เราต้องการ Multiplex มี 2 ตัว ได้แก่ x1 และ x2 A ทำหน้าที่เลือกอินพุทที่จะส่งออกไป Output ดังนั้น หากเราส่งข้อมูลไปที่ A สลับกัน (0,1) ข้อมูลของ x1 และ x2 ก็จะสลับกันไปด้วย ในการส่งเราอาจส่งข้อมูลไปที่ A แบบสัญญาณนาฬิกาก็ได้ แต่ข้อมูลทั้งหมดจะต้องเข้าจังหวะกัน (Synchronize)

สัญญาณ Clock เป็นสัญญาณแรงดันไฟฟ้าขึ้นและลง ตามช่วงเวลาที่คงที่ สัญญาณ 0 และ 1 สลับกัน

วงจร Multiplexer แบบ 4 อินพุท ใช้ A, B ในการเลือกอินพุท

2-to-4 Demultiplexer

ทำการทดลอง ให้ลองต่อวงจร Multiplexer และ Demultiplexer ตามรูปที่แสดงมาแล้ว

การทำงาน ข้อมูลเข้ามาที่ IN A และ B เป็นตัวเลือกว่าจะส่งไปออกที่ Output ตัวไหน A และ B นี้จะนำไป Synch กับ A และ B ที่ตัว Multiplexer