คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
U M. T Z L D K X C E J O A V C Y I S E H.
Advertisements

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การใช้ นโยบายการเงิน ในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทอ่อน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
การศึกษาการพยากรณ์ ความต้องการและนโยบาย การจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา บริษัท ABC นิศาชล ไทรชมภู
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
เทพเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทย
คัมภีร์ของศาสนายูดาห์(ยูดาย)
Easter อาจารย์สอง Satit UP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
Longitude & Time อาจารย์สอง Satit UP
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Longitude & Time อาจารย์สอง Satit UP
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
ความรู้พื้นฐานทั่วไป ของศาสนาคริสต์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
สัญลักษณ์/เครื่องหมาย ของศาสนาอิสลาม
คัมภีร์ ของศาสนาคริสต์
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
สมณศักดิ์ของผู้นำหรือนักบวชในศาสนา Hierarchy of Church
ศาสนศักดิ์ในศาสนาคริสต์ นิกายตะวันตก(โรมันคาทอลิก)
ศิลปะกรีก (GREECE ART)
ดูแลสุขภาพวันละนิดเพื่อชีวิตที่สดใส
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
รายรับ ของรัฐ อาจารย์สอง Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Boundary AJ.2 : Satit UP.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
(เครื่องมือทางการบริหาร)
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
Education การศึกษาในยุคกลาง
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการและองค์ประกอบสำคัญของ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS Features and Principles)
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
Promised Land อาจารย์สอง Satit UP.
นิกาย ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
PROVINCE AJ.2 : Satit UP.
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อาจารย์สอง Satit UP

สมฤติ (Smriti) ศรุติ (Sruti / Shruti ) ที่มาของคัมภีร์ พระเวท เป็นคำ หมายถึงความรู้อันมิได้ขีดเขียนไว้ เป็นของทิพย์ ออกมาจากพระพรหม   ผู้ที่รับถ่ายทอดคำสอนแห่งพระเวท ได้แก่ พวกพราหมณ์ แหล่งที่มาของคัมภีร์พระเวทจึงมี 2 ชั้น/ทาง ศรุติ (Sruti / Shruti ) สมฤติ (Smriti)

เขียน เช่น พระเวททั้ง 4 เล่ม ที่มาของคัมภีร์ ศรุติ ( Sruti / Shruti ) การได้ยินได้ฟัง ผู้ที่จะได้ยินเสียงทิพย์ คือ พราหมณ์ ฤษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ยิน/ฟัง เสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ “ heard ” เขียน เช่น พระเวททั้ง 4 เล่ม

อ้างว่าได้จดจำมาจากคำบอก ได้หรือถ่ายทอดต่อ ๆ เล่าต่อกันมา ทางความทรงจำ ที่มาของคัมภีร์ สมฤติ ( Smriti ) “ remembered ” เป็นคัมภีร์ที่แต่งเพิ่มเติมภายหลัง เพื่ออธิบายความ หรือ ประกอบ พระเวท อ้างว่าได้จดจำมาจากคำบอก ได้หรือถ่ายทอดต่อ ๆ เล่าต่อกันมา ทางความทรงจำ เขียน เช่น คัมภีร์ธรรมศาสตร์ คัมภีร์ปุราณะ

“ คัมภีร์พระเวท " ( Vedas )

"คัมภีร์พระเวท" (Vedas) เดิมบันทึกด้วยภาษาสันสกฤต

“ คัมภีร์พระเวท " ( Vedas ) ไตรเวท หรือ ไตรเพท ( Triveda ) ประกอบด้วย ฤคเวค ( Rig Veda ) ไตรเวท หรือ ไตรเพท ( Triveda ) ยชุรเวท ( Yajur Veda ) สามเวท ( Sama Veda ) อาถรรพเวท ( Athar Veda )

คัมภีร์พระเวท (Vedas) 1. คัมภีร์ฤคเวท (Rigveda) (ฤค แปลว่า คำฉันท์ ) เชื่อว่าเป็นหนังสือที่เก่าแก่ที่สุดของอินเดีย กล่าวถึงบทสวดสรรเสริญพระเป็นเจ้า

คัมภีร์พระเวท (Vedas) 1. คัมภีร์ฤคเวท (Rigveda)

คัมภีร์พระเวท ( Vedas ) 2. คัมภีร์ยชุรเวท ( Yajurveda ) เป็นคัมภีร์ใช้ในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของ พราหมณ์ ลักษณะและความสำคัญของพิธีกรรมบูชาไฟและพิธีกรรมต่าง ๆ

คัมภีร์พระเวท ( Vedas ) 3. คัมภีร์สามเวท ( Samveda ) (สาม แปลว่า สวด) โคลงบทสวด สำหรับพราหมณ์ใช้สวดทำพิธีสังเวยบูชาเทพเจ้า และการบูชาด้วยน้ำโสม

คัมภีร์พระเวท ( Vedas ) 4. คัมภีร์อาถรรพ์เวท (Atharvaveda) เขียนขึ้นมาในภายหลัง ประกอบด้วยบทสวดคาถาเกี่ยวกับไสยศาสตร์ เป็นพระเวทชนิดพิเศษไม่ได้ถูกจัดอยู่ในไตรเพทเพราะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการประกอบพิธีบูชายัญแต่อย่างใด

คัมภีร์พระเวท ( Vedas ) แต่ละพระเวทประกอบด้วยลักษณะ 4 หมวด/ส่วน คือ แต่ละพระเวทประกอบด้วยลักษณะ 4 หมวด/ส่วน คือ 1. สังหิตา หรือ มันตระ มนต์สำหรับสวดสรรเสริญพระเจ้า 2. พราหมณะ คำอธิบายในการทำพิธีกรรม(ใช้เป็นคู่มือในการทำพิธีกรรม) 3. อารัณญกะ หลักคำสอนนึกตรึกตรอง (เป็นคู่มือสำหรับใช้ปฏิบัติธรรมในป่า/อยู่ในป่า) 4. อุปนิษัท หลักปรัชญาอันเป็นแก่นสารในเรื่องต่าง ๆ ของศาสนาฮินดู เป็นร้อยแก้ว ว่าด้วยเรื่อง ) ปรมาตมัน อาตมัน โลก และ มนุษย์

มหากาพย์ รามายณะ และ มหาภารตะ มหากาพย์รามายณะ  ( Ramayana )  เป็นเรื่องราวของพระรามและนางสีดา  มหาภารตะ ( Mahabharata ) การทำสงครามกันระหว่างพี่น้องสองตระกูล คือตระกูลเการพและปาณฑพ ส่วนหนึ่งของเรื่องเป็นที่มาของปรัชญาและคัมภีร์ภควัตคีตา

มหากาพย์ รามายณะ และ มหาภารตะ

ยุคมหากาพย์ Mahakavya Period มหาภารตะ ( Mahabharata ) มหากาพย์มี 2 เล่ม คือ ยุคมหากาพย์ Mahakavya Period ยุคนี้เกิดหลังจากที่เผ่าอารยันได้ตั้งรกรากอย่างมั่นคงแล้วในชมพูทวีป แต่ก็ยังมีการรบพุ่งอยู่กับชนเผ่าพื้นเมือง เกิดขึ้นราวก่อนพุทธกาล 700 ถึง 250 ปี รามายณะ ( Ramayana ) มหาภารตะ ( Mahabharata )

รามายณะ (Ramayana) การเดินทางบุกป่าฝ่าดงของพระรามในการติดตามหานางสีดา แต่งโดย ฤๅษีวัลมีกิ ( Valmiki )

มหาภารตะ ( Mahabharata ) เนื้อเรื่องเป็นการพรรณาถึงการทำสงครามที่ขับเคี่ยวกันระหว่างพี่น้องสองตระกูลคือตระกูลเการพ(โกรพ) กับตระกูลปาณฑพ แต่งโดยฤๅษีเวทวยาส หรือ กฤษณะ ไทวปายน

มหาภารตะ ( Mahabharata )

มหาภารตะ ( Mahabharata )

มหาภารตะ ( Mahabharata ) มหาภารตะ ( Mahabharata )

มหาภารตะ ( Mahabharata )

มหาภารตะ

มหากาพย์ รามายณะ 14

มหากาพย์ รามายณะ (ไทยเรียกรามเกียรติ์)

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์อุปนิษัท( Upanishads ) เป็นคำสอนที่ว่าด้วยหลัก ปรมาตมัน   อาตมัน การเวียนว่ายตายเกิด

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์ปุราณะ ; Puranas กล่าวถึงเรื่องราว ตำนานต่างๆ ของพระเจ้า การบูชาเทพที่มีมา ตั้งแต่ยุคพระเวท

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ Dharmasastra เนื้อหาว่าด้วยกฎหมายและระเบียบการปฏิบัติของชาวฮินดู แนวในการครองชีวิตของชาวฮินดู การแบ่งชั้นวรรณะ  หลักธรรม 10 ประการ

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์ตันตระ Tantras คำสอนที่ลึกลับ เน้นหนักไปทางไสยศาสตร์หรือเวทมนต์คาถา  คำ สนทนาระหว่างพระศิวะกับนางทุรคา คัมภีร์นี้ก่อให้เกิดลัทธิ ศักติ คือ การบูชาเทพเจ้าฝ่ายหญิง

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์อุปเวท ศึกษาเพื่อทำหน้าที่เป็นแพทย์  นักรบ นักแสดง  

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์ภควัทคีตา Bhagavad Gita เป็นส่วนหนึ่งของมหากาพย์ภารตยุทธ การบของกษัตริย์ปานฑพกับเการพ คำสอนของภควัทคีตาประกอบด้วยปรัชญา ศาสนา และจริยศาสตร์ เป็นปรัชญาที่ประสานความรู้ กรรม และความภักดีเข้าด้วยกัน กล่าวถึงเรื่องการเข้าถึงโมกษะหรือการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง

คัมภีร์ของศาสนาพรามหณ์-ฮินดู คัมภีร์เวทางค์ หรือ เวทางคศาสตร์ ; Vedanga เป็นคัมภีร์ที่มี 6 ความรู้(สูตร) ซึ่งผู้ศึกษาพระเวทจำเป็นต้องมีความรู้เป็น พื้นฐานการศึกษาวิชาออกเสียงและวิชาแต่งกาพย์กลอนโคลงฉันท์ นั้นจำเป็นสำหรับ การเรียกอ่านพระคัมภีร์  ศึกษาศาสตร์  สอนการอ่าน ศิลปศาสตร์  สอนว่าพระเวทหรือคำแต่ละคำของพระเวทและมนตร์               ไวยากรณ์ศาสตร์  สอนว่าคำแต่ละคำของพระเวท                 นิรุกติศาสตร์  สอนเรื่องคำพูดหรือภาษาความเข้าใจในภาษา (ว่าด้วยรากศัพท์) ฉันทศาสตร์  หรือกาพย์ศาสตร์ (ว่าด้วยการประพันธ์บทร้อยกรอง) โชยติษศาสตร์ (ว่าด้วยตำราดาราศาสตร์และโหราศาสตร์)

คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คัมภีร์อารัณยกะ อารัณยกะ แปลว่า บทเรียนผู้อยู่ในป่า เป็นบทคำสอนการดำเนินชีวิตของพราหมณ์ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งออกจากป่าบำเพ็ญเพื่อบรรลุโมษะ การปฏิบัติตามบทเรียนนั้นๆ เรียกว่า การเข้าสู่อาศรม

คัมภีร์เวทางค์ คัมภีร์อารัณยกะ คัมภีร์ภควัทคีตา คัมภีร์อุปนิษัท คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ฤคเวค ( Rig Veda ) ศักดิ์สิทธิ์สำคัญที่สุด และเก่าแก่ที่สุดด้วย ยชุรเวท ( Yajur Veda ) คัมภีร์พระเวท ไตรเวท หรือ ไตรเพท สามเวท ( Sama Veda ) อาถรรพเวท ( Athar Veda ) คัมภีร์เวทางค์ คัมภีร์เหล่านี้มีเนื้อหาอยู่ในพระเวทและนำมาจัดหมวดหมู่เนื้อหา หรือเขียนเพิ่มเติมพระเวทในภายหลังซึ่งเป็นคัมภีร์ที่เกิดมาภายหลังคัมภีร์พระเวท คัมภีร์อารัณยกะ คัมภีร์ภควัทคีตา คัมภีร์อุปนิษัท คัมภีร์ปุราณะ พระธรรมศาสตร์ คัมภีร์ตันตระ