อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 19 Network Layer: Logical Addressing
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องกำหนด โปรโตคอลที่ต้องการใช้ในเครือข่าย ครูปนัดดา กองมนต์ รายวิชา อินเทอร์เน็ตและการสร้างเว็บ.
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
กติกามารยาทบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์. กิจกรรมที่ ๓ กติกาพื้นฐานในการ ใช้ไอซีที
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Layer. Subnetting.
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
IP-Addressing and Subneting
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : Cryptography & Steganography Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 2 แบบจำลองเครือข่าย
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
ไอพีแอดเดรส (IP - Address) Netid & Hostid
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline การกำหนดตำแน่งที่อยู่ใน IPv4 การแทนค่าไอพีแอดเดรสแบบเลขฐานสองและฐานสิบ การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting) ลำดับชั้น 3 ระดับ (Three Levels of Hierarchy) ซับเน็ตแมสก์ (Subnet Mask) การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช้คลาส (Classless Addressing)

การกำหนดตำแน่งที่อยู่ใน IPv4 (IPv4 Addressing) TCP/IP จะกำหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส ซึ่งไอพี แอดเดรสที่ใช้อย่างแพร่หลายที่สุดเป็นชุดเลขฐานสอง ขนาด 32 บิต ที่เรียกว่า IP version4 (IPv4) IP Address v4 จะถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ NetID ใช้ในการระบุเครือข่ายที่คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ HostID ใช้ระบุตำแหน่งของอุปกรณ์ เราเตอร์จะวางเส้นทางเฉพาะ NetID เท่านั้น โฮสต์ที่มี NetID ชุดเดียวกัน จะอยู่บนเครือข่ายเดียวกัน ภาระการ ส่งแพ็คเก็ตในเครือข่ายเดียวกันจะเป็นหน้าที่ของดาต้าลิงก์ ต่อไป IP Address ไม่ใช่หมายเลขสำหรับอ้างอิงโฮสต์ใดโฮสต์หนึ่ง จริงๆ การอ้างอิงตำแหน่งจริงจะใช้ MAC Address บนการ์ด เครือข่าย

การแทนค่าไอพีแอดเดรสแบบเลขฐานสองและฐานสิบ The address space of IPv4 is 232 or 4,294,967,296.

Example 1 Find the error, if any, in the following IPv4 addresses. Solution a. There must be no leading zero (045). b. There can be no more than four numbers. c. Each number needs to be less than or equal to 255. d. A mixture of binary notation and dotted-decimal notation is not allowed.

การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) IPv4 จะมีการแบ่งคลาสออกเป็น 5 คลาส โดยแต่ละ คลาสออกแบบมาเพื่อรองรับความต้องการที่แตกต่าง กันของแต่ละองค์กร

การแสดงคลาสในรูปแบบเลขฐานสองและเลขฐานสิบ NetID HostID

Note จากจำนวนโฮสต์ของไอพีแอดเดรสคลาสต่างๆจะมี การหักออก 2 เนื่องจากโฮสต์ไบนารี 00000000 และ 11111111 จะถูกสงวนเอาไว้ โฮสต์ไบนารี 00000000 (x.x.x.0) สงวนไว้อ้างอิง หมายเลขของเครือข่าย (Network IP) โฮสต์ไบนารี 11111111 (x.x.x.255) จะสงวนไว้เพื่อ การบรอดคาสต์ไปยังทุกโฮสต์ที่อยู่ในเครือข่ายนั้นๆ (Broadcast ID)

Example 2 Find the class of each address. b. 11000001 10000011 00011011 11111111 c. 14.23.120.8 d. 252.5.15.111 Solution a. The first bit is 0. This is a class A address. b. The first 2 bits are 1; the third bit is 0. This is a class C address. c. The first byte is 14; the class is A. d. The first byte is 252; the class is E.

ปัญหาของการจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) คือการสูญเสียหมายเลขไอพีที่ไม่ได้นำมาถูกใช้งานจริงเป็นจำนวนมาก

การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting) โดยพื้นฐานแล้ว ไอพีแอดเดรสจะมีการแบ่งส่วน ออกเป็น 2 ส่วน คือ NetID และ HostID แต่ ปัญหาคือเครือข่ายจะไม่สามารถแบ่งกลุ่มเป็น เครือข่ายย่อย ๆ ตามการใช้งานจริงได้ แนวทางการแก้ไขปัญหาคือการจัดกลุ่มโฮสต์โดย การแบ่งเป็นเครือข่ายย่อย (Subnetting) เพื่อให้ เครือข่ายมีขนาดเล็กลง เช่น กำหนดให้ 2 ไบต์แรกเป็น NetID (Class B), ไบต์ที่ 3 เป็น SubnetID และไบต์ที่ 4 เป็น HostID

ลำดับชั้น 3 ระดับ (Three Levels of Hierarchy) เป็นการทำซับเน็ต โดยยืมบิตบางส่วนของ HostID มาใช้กำหนดซับเน็ต หมายเลขไอพีจึง ประกอบไปด้วย NetID ใช้ระบุเน็ตเวิร์คไซต์ SubnetID ใช้ระบุฟิสิคัลซับเน็ตเวิร์ค HostID ระบุการเชื่อมต่อของโฮสต์กับซับเน็ตเวิร์ค การออกแบบซับเน็ตเป็นหน้าที่ของผู้ดูแลเครือข่าย จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการให้การใช้แอดเดรสมี ประสิทธิภาพ

ซับเน็ตแมสก์ (Subnet Mask) การออกแบบเครือข่ายจึงจำเป็นต้องมีการระบุซับเน็ต แมสก์ด้วย ค่า Default Subnet ของแต่ละคลาส เมื่อไม่มีการทำ ซับเน็ต จะเป็นไปตามตารางนี้

ซับเน็ตแมสก์ (Subnet Mask) [2] บิตที่ถูกตั้งค่าเป็น 1 ทั้งหมด จะตรงกับ NetID และ SubnetID บิตที่ถูกตั้งค่าเป็น 0 ทั้งหมด จะตรงกับ HostID นำ bit มา AND กัน Subnet Mask Host IP Address Network IP 255.255.0.0 15.32.56.7 15.32.0.0 255.255.255.0 135.67.13.9 135.67.13.0 255.255.255.192 201.34.12.72 201.34.12.64 .11000000 (mask 192) .01001000 (Host IP 72) .01000000 (Net IP 64)

Example 3 A block of addresses is granted to a small organization. We know that one of the addresses is 205.16.37.39/28. What is the first address in the block? Solution The binary representation of the given address is 11001101 00010000 00100101 00100111 If we set 32−28 rightmost bits to 0, we get 11001101 00010000 00100101 00100000 or 205.16.37.32

การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช้คลาส (Classless Addressing) การใช้ Classful Addressing จะค่อนข้างตายตัว และไม่ยืดหยุ่น และก่อให้เกิดการใช้ไอพีแอดเดรส อย่างไม่มีประสิทธิภาพ จึงแก้ปัญหาด้วยการจัดสรร ไอพีแบบ Classless Addressing Classless Addressing จะเน้นจำนวนโฮสต์ที่ ต้องการใช้งานจริง โดยไม่สนว่าเป็นคลาสใด ต่อคาบหน้า.....นะจ๊ะ