การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Data Communication and Networks บทที่ 4 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 1 ) 1. การ์ดแลน PCI ที่มีพอร์ต RJ-45 และคอนเน็กเตอร์ BNC . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 2 ) 2. การ์ดแลน PCI ที่มีพอร์ต RJ-45 ซึ่งนิยมใช้กันมากที่สุด . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 3 ) 3. การ์ดแลนสำหรับสายใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 4 ) 4. การ์ดแลนแบบ PCMCIA สำหรับโน้ตบุ๊ก . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 5 ) 5. การ์ดแลนแบบไร้สายแบบ PCI . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 6 ) 6. การ์ดแลนแบบไร้สายแบบ PCMCIA . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 1. การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network Interface Card) (แบบที่ 7 ) 7. การ์ดแลนแบบไร้สายแบบ USB . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 2. สาย UTP (Unshielded Twisted Pairs) . www.pcbc.ac.th
สาย UTP สาย UTP เป็นสายที่ใช้เชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐาน กำหนดความยาวได้ไม่เกิน 100 เมตร เป็นสายแบบที่มีตัวนำทองแดง 4 คู่โดย ทั่วไปเป็นสายที่ใช้ลวดตัวนำที่มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 มิลลิเมตร สาย 4 คู่ที่ตีเกลียวสลับกันดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีสีเพื่อกำหนดสายเพื่อให้การเลือก ต่อสายที่ปลายทั้งสองได้ถูกต้อง จึงมีการกำหนดสีให้เป็นรหัส บ่งบอกสาย สีที่ปรากฏ ที่สาย UTP ที่ใช้ในมาตรฐานนี้มีดังนี้ สายคู่ที่ 1 ใช้สีขาว - ฟ้า ตัวย่อ (W-BL) สายคู่ที่ 2 ใช้สีขาว - ส้ม ตัวย่อ (W-O) สายคู่ที่ 3 ใช้สีขาว - เขียว ตัวย่อ (W-G) สายคู่ที่ 4 ใช้สีขาว - น้ำตาล ตัวย่อ (W- BR)
Category ของสาย UTP
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 3. หัว RJ-45 (Registered Jack 45) . www.pcbc.ac.th
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาย UTP และหัว RJ-45 สาย UTP ที่ใช้ใน Ethernet Lan จะเข้าหัวแบบ RJ-45 ภายในสาย UTP จะมีสายทองแดงย่อยอีก 8 เส้น โดยถูกจัดกลุ่มเป็นคู่ๆ ทั้งหมด 4 คู่ RJ-45 UTP
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การเข้าหัว RJ-45 มีได้ 2 แบบ คือ แบบ A (Standard 568A) มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ขาว/เขียว เขียว ขาว/ส้ม น้ำเงิน ขาว/น้ำเงิน ส้ม ขาว/น้ำตาล น้ำตาล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบ B (Standard 568B) เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ขาว/ส้ม ส้ม ขาวเขียว น้ำเงิน ขาว/น้ำเงิน เขียว ขาว/น้ำตาล น้ำตาล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาย UTP มี 2 แบบ ตามการเข้าหัว RJ-45 ดังนี้ สายตรง (UTP Straight Cable) เป็นสายที่ใช้ทั่วไป และพบมาก โดยใช้ในการเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์เครือข่ายจำพวก Hub และ Switch โดยการเข้าหัวทั้ง 2 ปลายจะเป็นแบบเดียวกัน (A หรือ B ก็ได้) สายครอส (UTP Cross-over Cable) ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องโดยตรง ไม่ผ่านอุปกรณ์ประเภท Hub และ Switch นอกจากนี้ยังใช้เชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ Router (ซึ่งถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์อีกรูปแบบหนึ่ง) โดยการเข้าหัวที่ปลายทั้ง 2 จะไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ปลายข้างหนึ่งเข้าหัวแบบ A อีกปลายจะเข้าหัวแบบ B
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สายตรง (UTP Straight Cable)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สายครอส (UTP Cross-over Cable)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิธีการเข้าหัวสาย UTP 1. ปลอกที่หุ้มสายออกประมาณ 2-3 ซม.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. เรียงสายทั้ง 4 คู่ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่ต้องการ (A หรือ B) แล้วตัดให้สายทุกเส้นยาวเท่ากัน โดยให้ยาวออกจากที่หุ้มสายประมาณ 1.7 ซม.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3. สอดสายที่จัดเรียงเรียบร้อยแล้ว เข้าไปยังหัว RJ-45 โดยใส่เข้าไปให้สุด และแน่นแล้วจึงใช้ที่เข้าหัวสายหนีบ เพื่อดันให้เข้าที่
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 4. สาย STP (Shielded Twisted Pairs) . สาย STP (Shielded Twisted Pairs) www.pcbc.ac.th
STP (Shield Twisted Pair) เป็นสายคู่ลักษณะคล้ายกันกับสาย UTP แต่มีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน สายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวนที่เป็นโลหะถักเป็นร่างแหโลหะหรือฟอยส์ ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนต่างๆ ภาษาเทคนิคเรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) จะใช้ในกรณีที่เชื่อมต่อเป็นระยะทางไกลเกินกว่าระยะทางที่จะใช้สาย UTP
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาย STP (Shielded Twisted Pair) คล้ายกับสาย UTP แต่มีชนวน และตัวนำหุ้ม จึงป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี นิยมใช้แทนสาย UTP ในที่ๆ มีสัญญาณรบกวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ มีราคาแพงกว่าสาย UTP
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) โครงสร้างของสายโคแอคเชี่ยล
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 5. สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) . สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) www.pcbc.ac.th
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอ็กซ์จะถูกแยกเป็นประเภทต่าง ๆ โดยใช้มาตรา RG (Radio Grade Scale) เช่น สายโคแอ็กซ์แบบ RG-58 จะใช้ได้กับเครือข่าย อีเธอร์เน็ตแบบ 10Base2 ซึ่งมีค่าความต้านทานที่ 50 โอห์ม
ประเภทของสายโคแอ็กซ์เชี่ยล สายโคแอ็กซ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) 2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable)
สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) เป็นสายที่มีขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.64 cm มีความยืดหยุ่นสูงจึงสามารถใช้ได้กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุกประเภท สามารถนำสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร สายโคแอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ในสายประเภท RG-58 มีความต้านทาน (Impedance) ที่ 50 โอห์ม
สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thicknet Cable) เป็นสายโคแอ็กซ์ที่ค่อนข้างแข็ง และขนาดใหญ่กว่าสายโคแอ็กซ์แบบบาง โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.27 cm เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบอีเธอร์เน็ต ส่วนแกนกลางที่เป็นสายทองแดงของสายโคแอ็กซ์แบบหนาจะมีขนาดใหญ่กว่า จึงนำสัญญาณได้ดีกว่าแบบบาง สามารถนำสัญญาณได้ไกลถึง 500 เมตร สมัยก่อนใช้เป็นแบ็คโบนของเครือข่าย ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว
หัวเชื่อมต่อที่ใช้กับสายโคแอ็กซ์ สายแบบ Thinnet และ Thicknet จะใช้หัวเชื่อมต่อชนิดเดียวกัน ที่เรียกว่าหัว BNC 1. หัวเชื่อมสาย BNC (BNC Cable Connector) 2. หัวเชื่อมสายรูปตัว T (BNC T-Connector) 3. หัวเชื่อมสายแบบ Barrel (BNC Barrel Connector) 4. ตัวสิ้นสุดสัญญาณ (BNC Terminator)
สายโคแอ็กซ์ยังแบ่งออกเป็น 2 เกรดแล้วแต่การใช้งาน 1. สายโคแอ็กซ์เกรด PVC จะใช้พลาสติกเป็นวัสดุห่อหุ้ม ใช้ในสำนักงาน เพราะเป็นสายที่มีความยืดหยุ่นมาก แต่เมื่อติดไฟจะทำให้เกิดแก๊สที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ 2. สายโคแอ็กซ์เกรด Plenum ใช้ติดตั้งเพดานหรือระหว่างชั้นหรือพื้นที่มีอุณหภูมิต่างจากอุณหภูมิห้อง ทนไฟและถ้าไฟไหม้สายแก๊สที่เกิดขึ้นก็ไม่เป็นอันตรายมาก
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 5. สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) Terminator . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 5. สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) T-Connector . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 6. สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) . www.pcbc.ac.th
สายใยแก้วนำแสง (Fiber-Optic)
ชนิดของ Fiber Optic Single Mode Fiber Optic Multimode Fiber Optic
Fiber Optic Connector FC - Telephone ST-นิยมใช้มาก SC - ใช้ง่าย
ข้อดีของ Fiber optic ทนทานต่อคลื่นรบกวนด้วยฉนวนชั้นนอก สัญญาณคงที่ในการส่งข้อมูลแม้ในระยะทางไกลๆ ไม่ต้อง อาศัยอุปกรณ์ เพิ่มสัญญาณหรือทวนสัญญาณ แบนด์วิดท์สูง รองรับความเร็วในการส่งข้อมูลประมาณ 500 Mbps ขึ้นไป
ข้อจำกัดของสายใยแก้วนำแสง มีราคาแพงเนื่องจากต้นทุนการผลิต การติดตั้งและการบำรุงรักษา ความเปราะและแตกหักง่าย
การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย 1) คลื่นวิทยุ (Radio Wave) 2) สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) 3) แสงอินฟราเรด (Infrared) 4) ดาวเทียม (satilite) 5) บลูทูธ (Bluetooth)
คลื่นวิทยุ วิธีการสื่อสารประเภทนี้จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุโดยรวมกับคลื่นเสียง ที่เป็นรูปแบบของคลื่นไฟฟ้า ดังนั้นการส่งวิทยุกระจายเสียงจึงไม่ต้องใช้สายส่งข้อมูล และยังสามารถส่งคลื่นสัญญาณไปได้ระยะไกล ซึ่งจะอยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง 104 - 109 เฮิรตซ์ ดังนั้นเครื่องรับวิทยุจะต้องปรับช่องความถี่ให้กับคลื่นวิทยุที่ส่งมา ทำให้สามารถรับข้อมูลได้อย่างชัดเจน
ระบบไมโครเวฟ (Microwave System)
ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) ไมโครเวฟ คือ ช่วงสัญญาณคลื่นวิทยุ นำมาใช้ในการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงทั้งสัญญาณเสียงและข้อมูล มีจานส่งและรับข้อมูลตั้งอยู่บนเสาสูง ยอดตึก หรือภูเขา ส่งสัญญาณเป็นเส้นตรง และจะไม่มีอะไรมาขวางกั้น (แต่มีการลดทอนของสัญญาณ) ระยะทางของจานรับ/ส่งประมาณ 30-50 กม. 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
ระบบไมโครเวฟ (Microwave System)
ระบบดาวเทียม (Satellite System)
ระบบดาวเทียม (Satellite System) ดาวเทียม มีหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล, รับและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมภาคพื้นโลก ดาวเทียมอยู่ห่างจากพื้นโลกประมาณ 36,000 ก.ม. การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า “สัญญาณอัป-ลิงค์” (Uplink) การส่งสัญญาณข้อมูลกลับมายังพื้นโลกเรียกว่า “สัญญาณดาวน์-ลิงค์” (Downlink)
ระบบดาวเทียม (Satellite System) 36,000 km 04000102 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย (ขั้นพื้นฐาน) การ์ดเชื่อมโยงเครือข่าย (Network interface card) ฮับ/สวิทซ์ (Hub/Switch) เราเตอร์ (Router) โมเด็ม (Modem) Access Point Wireless Card
การ์ดเชื่อมโยงเครือข่าย (Network interface card)
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 7. เครื่องมือทดสอบสาย . เครื่องมือทดสอบสาย www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 8. ฮับ (Hub) . ฮับ (Hub) www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 9. สวิตช์ (Switch) . สวิตช์ (Switch) www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 10. รีพีตเตอร์ (Repeater) . รีพีตเตอร์ (Repeater) www.pcbc.ac.th
ฮับ/สวิทซ์ (Hub/Switch)
ฮับ/สวิทซ์ (Hub/Switch) ฮับ/สวิทซ์ (Hub/Switch) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้าด้วยกัน และเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการกระจายสัญญาณ โดยที่ฮับจะมีการแบ่งช่องสัญญาณตามจำนวนผู้ใช้ แต่ Switch ไม่มีการแบ่ง
การทำงานของ Hub
ความแตกต่างระหว่าง Hub และ Switch หากมีการส่งสัญญาณพร้อมๆกัน ความเร็วจะลดลง ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้กับเครือข่ายขนาดใหญ่
ความแตกต่างระหว่าง Hub และ Switch การรับ-ส่งข้อมูลจากพอร์ทหนึ่งของอุปกรณ์ ไปยังพอร์ทปลายทางที่เชื่อมอยู่กับอีกเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลเท่านั้น ส่งข้อมูลได้พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เป็นที่นิยมใช้งานในระบบเครือข่ายมากกว่าฮับ
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 11. บริดจ์ (Bridge) . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 12. เร้าเตอร์ (Router) . www.pcbc.ac.th
เราเตอร์ (Router) เราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ เชื่อมต่อเครือข่ายแต่ละประเภทเข้าด้วยกัน โดยค้นหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 13. โมเด็ม (Modem) . www.pcbc.ac.th
โมเด็ม (Modem) โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ แปลงสัญญาณดิจิตอลของคอมพิวเตอร์ให้สามารถวิ่งบนสายโทรศัพท์ (สัญญาณอนาลอก) เพื่อทำการติดต่อสื่อสารได้ มี 2 ชนิด คือแบบติดตั้งภายใน และแบบติดตั้งภายนอก
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 14. Wireless Access Point . www.pcbc.ac.th
Access Point ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless) Access Point หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า AP (เอ-พี) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็น “จุดกระจายและเชื่อมต่อสัญญาณ ไร้สาย เพื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์ไร้สายทุกชนิด เข้า
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 15. โมเด็ม ADSL (ADSL Modem) . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 15. โมเด็ม/เร้าเตอร์ ADSL (ADSL Modem/Router) . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 16. Splitter . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 17. Wireless Broadband Router . www.pcbc.ac.th
Data Communication and Networks อุปกรณ์ในเครือข่าย 18. ไฟร์วอลล์ (Firewall) . www.pcbc.ac.th