แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สังคม เศรษฐกิจ กับการศึกษา
Advertisements

การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การจัดระเบียบทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน
Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์
ทฤษฎี ความหมาย มีหน้าที่คือ 1.อธิบาย 2.พยากรณ์หรือทำนาย
ทฤษฎีโครงสร้าง - หน้าที่ (Structural Functionalism)
บทที่ 6 ทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าที่
Conflict theory ชุดที่ 5. Post Modeorist ( ต่อ ) 2. ดร. จิรโชค วีระสัย - จบปริญญาตรีถึงปริญญาเอก มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียเบิอลีย์ประเทศสหรัฐอเมริกา -
Social Status by KRU_AW. In sociology, social status is a certain position in the soceity. The status may likely be an occupation such as nurse in Bang-Bo.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
Thai youth in Agriculture Sector Situation: The average age of farmers in Thailand who is also living in agriculture increased. Agricultural sector is.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
Organization Behavior
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
กฤษณ์พชร โสมณวัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวความคิดและนโยบายในการพัฒนาประเทศ concept and policy of development
สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์
ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์
สังคมและการเมือง : Social and Politics
Method & Theory in the Study of Religion
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
การพัฒนาสังคม Social Development 9 : 22 ต.ค. 60.
พัฒนาการของการวัดและประเมินผลการศึกษา
เราคนคลัง รู้เท่าทันผลประโยชน์ทับซ้อน โดย.. นายพิเศษ นาคะพันธุ์
Peace Theory.
การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)
อุดมการณ์การเมืองในระบบรัฐธรรมนูญไทย
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
เรื่องขั้นตอนการเตรียมการจัดการเอกสารเพื่อการขนส่ง
อาจารย์ไชยรัตน์ ศิรินคร
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา.
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
แนวคิดการจัดการความขัดแย้ง
Globalization and the Law
มองรัฐและอุตสาหกรรมไทยผ่านกรอบ Ha-Joon Chang
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
ทฤษฎีการพัฒนา ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ หน่วยที่ 5 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามสาขาวิชา
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม : แนวคิดและทฤษฏีการพัฒนา เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
๑. หลักการบริหารงานทั่วไปและการบริหารทางการพยาบาล
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
การบริหารจัดการทางการศึกษา (106402)
การบริหารทีมในองค์การ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
พระพุทธศาสนา.
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
การวิจัยทางธุรกิจ Business Research
บุคลิกภาพ (ต่อ).
การบูรณาการการปฏิบัติงานด้านกากอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
การดูแลสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาล :Update องค์ความรู้ (Violence)
หลักรัฐประศาสนศาสตร์ KHANTHONG JAIDEE,Ph.D
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา.
รพีพัฒน์ จันทนินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การปกครองท้องถิ่นไทย PPA 1103
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology

สังคม Environmental Sociology หมายถึง การรวมตัวกันของกลุ่มคนที่มีวิถีชีวิตคล้ายคลึงกัน และอาศัยอยู่ในอาณาเขตเดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ (Alex Thio, 2000: 33) หมายถึง การรวมกันของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป มีการอยู่ในอาณาเขตหรือดินแดนเดียวกัน โดยมีรูปแบบการดำเนินชีวิตที่คล้ายคลึงกัน มีวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมร่วมกัน (Haralalambos & Holborn, 2004: 8) ดังนั้น สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมหรือแบบแผนในการดำเนินชีวิตร่วมกัน ซึ่งเป็นแบบแผนที่กำหนดไว้เพื่อประโยชน์ของสังคมนั้น ๆ

วิวัฒนาการของสังคม Environmental Sociology Hunting – Gathering Societies (สังคมล่าสัตว์และเก็บหาอาหาร) Pastoral Societies (สังคมเลี้ยงสัตว์เพื่อยังชีพ) Horticultural Societies (สังคมกสิกรรมพืชสวน) Agricultural Societies (สังคมเกษตรกรรม) Industrial Societies (สังคมอุตสาหกรรม) Postindustrial Societies (สังคมหลังยุคอุตสาหกรรม)

การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization) สาเหตุที่ต้องมีการจัดระเบียบทางสังคม มนุษย์มีความแตกต่างกัน มนุษย์ต้องการพึ่งพาอาศัยกัน มนุษย์มีลักษณะตามธรรมชาติ คือ การต่อสู้ การใช้อำนาจ และการขัดแย้ง

องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม Social Norms Status Role

องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) 1. วิถีประชา หรือวิถีชาวบ้าน (Folkways) 2. จารีตหรือกฎศีลธรรม (Mores) 3. กฎหมาย (Laws)

องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม สถานภาพ (Status) 1. สถานภาพที่ได้มาโดยกำเนิดหรือสถานภาพที่ติดตัวมา (Ascribed Status) 2. สถานภาพสัมฤทธิ์หรือสถานภาพที่ได้มาด้วยความรู้ความสามารถของบุคคล (Achieved Status)

องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม บทบาท (Role) หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิและหน้าที่ของสถานภาพ หรือหมายถึง พฤติกรรมที่คาดหวังสำหรับผู้ที่อยู่ในสถานภาพต่าง ๆ ว่าจะแสดงหรือปฏิบัติอย่างไร

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการแบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคมเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตาม อาจเป็นไปในทางก้าวหน้าหรือถดถอย เป็นไปอย่างถาวรหรือชั่วคราว โดยวางแผนให้เป็นไปหรือเป็นไปเอง และที่เป็นประโยชน์หรือให้โทษก็ได้ทั้งสิ้น (ราชบัณฑิตยสถาน, 2532: 237) Judson R. Landis (1974: 229) ให้ความหมายว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงในลักษณะโครงสร้างและการทำหน้าที่ของความสัมพันธ์ทางสังคมในสังคมหนึ่ง หมายถึง กระบวนการซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างและหน้าที่ของระบบสังคม เมื่อมีความคิดใหม่ๆ ถูกประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา มีการแพร่กระจายออกไป และได้รับการยอมรับหรือไม่ยอมรับ จนนำไปสู่ผลกระทบต่อสังคม (Rogers, 1995)

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโครงสร้างทางสังคม และพฤติกรรมทางสังคม เช่น ครอบครัวขยาย – ครอบครัวเดี่ยว เผด็จการ – ประชาธิปไตย เกษตรกรรม-อุตสาหกรรม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology ลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แบ่งได้ 4 ช่วง ได้แก่ โลกยุคที่ 1 สังคมเกษตรกรรม โลกยุคที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม โลกยุคที่ 3 สังคมข่าวสาร โลกยุคที่ 4 สังคมความรู้

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แบ่งเป็น 2 ประเภท การเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายในของระบบสังคม การเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายนอกของระบบสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology การเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายในของระบบสังคม เช่น การประดิษฐ์คิดค้นวิธีการผลิตใหม่ - การต่อสู้ขัดแย้งระหว่างกลุ่มและกระบวนการในสังคม - การริเริ่มดำเนินการเปลี่ยนแปลงจากชนชั้นนำหรือจากกระบวนการปฏิวัติโดยประชาชน

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology 2. การเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายนอกของระบบสังคม เช่น การรับเอาเทคโนโลยีจากภายนอก การล่าอาณานิคม

แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology 1. แนวคิดการแสวงหาความรู้ใหม่ Ex. โครงการโรงเรียนในฝัน 2. แนวคิดการยกระดับตนเอง Ex. โครงการต้นกล้าอาชีพ 3. แนวคิดการเข้าใจและปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม Ex. โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 4. แนวคิดการทำให้ทันสมัย (Modernization) Ex. การย้ายแรงงาน 5. แนวคิดการทำให้เป็นอุตสาหกรรม (Industrialization) 6. แนวคิดการทำให้เป็นแบบตะวันตก (Westernization)

องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม Environmental Sociology 1. ความสัมพันธ์ทางสังคม 2. ค่านิยม 3. อัตลักษณ์ 4. ระบบความรู้

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ด้าน Environmental Sociology การเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ด้าน 1. ด้านเศรษฐกิจ 2. ด้านสังคม 3. ด้านวัฒนธรรม

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 1. สภาพแวดล้อม ธรรมชาติ และประชากร 2. การพัฒนาเศรษฐกิจ 3. ทัศนคติ/ความเชื่อของคนในสังคม 4. การเคลื่อนไหวทางสังคม 5. กระบวนการทางวัฒนธรรม 6. การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ

รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 1. การเปลี่ยนแปลงแบบเส้นตรง เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จากสังคมที่มีความเจริญ ทางอารยธรรมต่ำไปสู่สังคมที่มีความเจริญของอารยธรรมระดับสูงขึ้นต่อไป 2. การเปลี่ยนแปลงแบบวัฏจักร เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไม่มีความสม่ำเสมอ ค่อย ๆ เจริญก้าวหน้า ไปเรื่อย ๆ จนถึงที่สุดก็จะเสื่อมสลายไป

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) สังคมหลังอุตสาหกรรม (Post- Modernization Society)

Environmental Sociology ยุคเกษตรกรรม (Agricultural Age)

Environmental Sociology สังคมชนบท

Environmental Sociology การผลิตแบบยังชีพ

ระบบเจ้าขุนมูลนาย/ศักดินา - ความเท่าเทียมกัน Environmental Sociology ระบบเจ้าขุนมูลนาย/ศักดินา - ความเท่าเทียมกัน

ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม Environmental Sociology ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)

สังคมทันสมัย (Modernization Society) Environmental Sociology สังคมทันสมัย (Modernization Society) การทำให้เป็นเมือง (Urbanization) การทำให้เป็นอุตสาหกรรม (Industrialization) การแข่งขันทางการค้า-ธุรกิจ (Competition) การนำคนเข้าสู่กระบวนการผลิต (Production)

ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology 1. ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) 2. ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) 3. ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Theory) 4. ทฤษฎีจิตวิทยา-สังคม (Social-Psychological Theory)

ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory Environmental Sociology ชาร์ล ดาร์วิน (Charles Darwin) “การเปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างเป็นขั้นตอนตามลำดับ” ออกุสต์ กองต์ (Auguste Comte) “สังคมมนุษย์มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ผ่าน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเทววิทยา ขั้นอภิปรัชญา และขั้นวิทยาศาสตร์ เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) “วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์เป็นแบบสายเดียว (Unilinear)

ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) Environmental Sociology “พฤติกรรมของสังคมสามารถเข้าใจได้จากความขัดแย้งระหว่าง กลุ่มต่าง ๆ และบุคคลต่าง ๆ เพราะการแข่งขันกันในการเป็น เจ้าของทรัพยากรที่มีค่าและหายาก”

ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) Environmental Sociology คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) “การกระทำ (Thesis) เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการกระทำ (Antithesis) และเกิดการกระทำแบบใหม่ (Synthesis) ตามมา” การเปลี่ยนแปลงของทุก ๆ สังคม จะมีขั้นตอนของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้น (กรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต) 1. ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ดั้งเดิม (Primitive communism) 2. ขั้นสังคมแบบโบราณ (Ancient communal) 3. ขั้นสังคมแบบศักดินา (Feudalism) 4. ขั้นสังคมแบบทุนนิยม (Communism) 5. ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ (Communism)

ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) Environmental Sociology คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) กระบวนการนำไปสู่การปฏิวัติของชนชั้นล่างของสังคม 1. มีความต้องการในการผลิต 2. เกิดการแบ่งแยกแรงงาน 3. มีการสะสมและพัฒนาทรัพย์สินส่วนบุคคล 4. ความไม่เท่าเทียมทางสังคมมีมากขึ้น 5. เกิดการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในสังคม 6. เกิดตัวแทนทางการเมืองเพื่อทำการรักษาผลประโยชน์ของแต่ละชนชั้น 7. เกิดการปฏิวัติ

ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) Environmental Sociology ลิวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) “การขัดแย้งก่อให้เกิดผลทั้งด้านบวกและด้านลบ โดยความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม” ราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) “ความไม่เท่าเทียมกันในสังคมเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันในเรื่องสิทธิอำนาจ (Authority)”

ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Theory) “โครงสร้างสังคมเป็นเสมือนร่างกายที่ประกอบไปด้วยเซลล์ต่าง ๆ โดยมีอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายเปรียบเหมือนหน้าที่ของสังคม ซึ่งแต่ละส่วนจะช่วยเหลือและเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อให้ระบบทั้งระบบมีชีวิตดำรงอยู่ได้”

ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Theory) โรเบิร์ต เค. เมอร์ตัน (Robert K. Merton) หน้าที่สังคมมี 2 ประเภท คือ หน้าที่หลัก (Manifest) หน้าที่รอง (Latent) อีมีล เดอร์ไคม์ (Emile Durkheim) หน้าที่ของสังคม คือ ส่วนที่สนับสนุนให้สังคมสามารถดำรงอยู่ได้

ทฤษฎีจิตวิทยา-สังคม (Social-Psychological Theory) การพัฒนาทางสังคมเกิดจากการทำงานของปัจจัยทางด้านจิตวิทยาที่เป็นแรงขับให้ประชาชนมีการกระทำ

ทฤษฎีจิตวิทยา-สังคม (Social-Psychological Theory) แมค เวเบอร์ (Max Weber) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเกิดจากปัจจัยทางจิตวิทยา

การสูญเสียที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม Environmental Sociology การสูญเสียที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 1. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ 2. การสูญเสียทางสังคม 3. การสูญเสียทางจิตวิทยา