ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
Advertisements

Electronic Circuits Design
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 1 อุปกรณ์อินพุท/เอ้าท์พุทเซนเซอร์และวงจรควบคุม
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
สื่อการเรียนการสอน วิชา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 3 คุณลักษณะของไดโอด
บทที่ 5 ไดโอดชนิดพิเศษ ไดโอดชนิดพิเศษ เช่น ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง โพโต้ไดโอด และไดโอดแบบอื่นๆ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม.
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
ตัวอย่างการต่ออุปกรณ์ต่อพ่วงเข้ากับ PIC16F877A
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
Basic Input Output System
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ชุดแบตเตอรี่แรงดันสูงและแบตเตอรี่เสริม ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
แผ่นดินไหว.
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
ขดลวดพยุงสายยาง.
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 8 พัลส์เทคนิค
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ คะแนนปฏิบัติ 20 คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนนสอบปลายภาค 50 1. ดร. ศุภโยธิน ณ สงขลา Lab ปฏิบัติ Lab ต่อวงจรจริง 10 Lab SPICE 10

แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics) บทที่ 9 แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics) อุปกรณ์ power electronics คุณลักษณะของ SCR วงจรเรียงสัญญาณแบบควบคุมเฟส วงจรควบคุมแรงดันไฟสลับ วงจรแปลงผัน dc-dc

Power Electronics เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการควบคุมการแปลงผันพลังงานไฟฟ้า (energy conversion) จากแหล่งจ่ายไฟ (ซึ่งมักจะคือ AC line)ไปยังโหลด เนื่องจากการควบคุมการแปลงผันไฟฟ้าแบบเชิงเส้น จะทำให้เกิดความสูญเสีย (loss) ในอุปกรณ์ในวงจรมากซึ่งจะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานและทำให้เกิดความร้อนสูง ในปัจจุบันเราจึงนิยมให้อุปกรณ์ในวงจรทำงานเป็นสวิตช์

ประเภทของวงจร Power Electronics 1. AC-DC Converters (controlled rectifiers) 2. AC-AC Converters (AC Voltage Controllers) 3. DC-DC Converters (DC choppers) 4. DC-AC Converters (Inverters) ตัวอย่างของการใช้งาน Power Electronics ได้แก่ Air Conditioning, Alarms, Battery charger, Clothes dryer, Conveyor, Electric Dryers, Electric fans, Elevators, Induction Heating, Light Dimmers, Motor Control/Drives, Power Supplies, TV deflections, Voltage regulators.

อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำกำลัง (power semiconductor device) สามารถแบ่งออกตามโครงสร้างได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ ๆ คือ Power Diode Thyristor มีหลายชนิด อาทิ SCR, Triac, Gate-turn-off (GTO) Power BJT Power MOSFET Insulated Gate Bipolar Transistors (IGBT) ทั้งนี้เราจะเรียก Power BJT, Power MOSFET, IGBT และ GTO รวม ๆ ว่าเป็น Controllable Switches เพราะเราสามารควบคุมการปิดเปิดของอุปกรณ์เหล่านี้ได้ด้วยสัญญาณควบคุม

สัญลักษณ์ของ Thyristor ประเภทต่าง ๆ GTO Triac SCR

SCR Thyristors ถ้า vAK > 0 จะทำให้ J1 และ J3 ถูก forward bias ส่วน J2 ถูก reverse bias ดังนั้น iA ~ 0 (ย่าน forward blocking หรือ off-state) แต่ถ้า vAK มีค่าสูงมากพอ จะเกิด avalanche breakdown ขึ้นใน J2 ทำให้ iA ไหลได้ (ย่าน on-state)

จากสถานะ off -> on (1) การเปลี่ยนสถานะจะเกิดขึ้นได้เมื่อกระแส iA ในช่วงนั้นมีค่ามากกว่า IL (latching current) เมื่ออยู่ในสถานะ on แรงดันที่ตกคร่อม SCR จะมีค่าค่อนข้างคงที่ (~ 1 V)

จากสถานะ off -> on (2)

จากสถานะ on -> off SCR อยู่ในสถานะ on จะเปลี่ยนสถานะเป็น off เมื่อ iA มีค่าลดลงต่ำกว่า IH (holding current)

SCR Characteristics

ถ้ามีกระแส iG ไปทริกที่ขาเกต จะทำให้ SCR เปลี่ยนสถานะจาก off (เปิดวงจร) เป็น on (ปิดวงจร) ได้ถึงแม้ว่า vAK < VBO iG ยิ่งมากจะทำให้การเปลี่ยนสถานะเกิดเร็วขึ้น

Ideal SCR

วงจรแปลงผัน ac-dc ที่มีโหลดเป็นตัวต้านทาน Controlled Rectifier วงจรแปลงผัน ac-dc ที่มีโหลดเป็นตัวต้านทาน มีการทริกที่ขาเกต กรณีนี้กระแสและแรงดันของโหลดจะมีเฟสตรงกัน

กรณีที่มีโหลดเป็นตัวต้านทานและขดลวดเหนี่ยวนำ กรณีนี้กระแสและแรงดันของโหลดจะมีเฟสต่างกัน ทำให้แรงดันเฉลี่ยของ vL มีค่าต่ำลง

เราสามารถเพิ่มค่าเฉลี่ยของ vL ได้โดยการต่อ freewheeling diode

AC Voltage Controller เราสามารถควบคุมค่า rms ของไฟสลับได้โดยการต่อ Thyristor ระหว่างแหล่งจ่ายกับโหลดดังนี้ การควบคุมแบบนี้ถูกนำไปใช้มากในงานที่มีความเฉี่อยทางกล (mechanical interia) และค่าคงที่ทางความร้อน (thermal time constant) สูง เช่นใน industrial heating และการควบคุมความเร็วมอเตอร์)

DC-DC Converters

ให้ t = L/R

ถ้าให้ T << t จะพบว่า เมื่อ d = t1/T (duty cycle)

DC-DC Converters: Buck Converter เราใช้ BJT ในการสร้างสวิตช์ S1 ส่วนไดโอดจะทำหน้าที่เสมือนสวิตช์ S2 ตัวเก็บประจุ C ใส่เพื่อคงระดับแรงดันเอาต์พุตเมื่อโหลดมีการเปลี่ยนแปลง เราสามารถแสดงได้ว่า