โครงสร้างภาษาซี C ++ structure

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Computer Language.
Advertisements

INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
Computer Programming 1 LAB Test 3
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
ปฎิบัติการที่ ห้า.
Structure Programming
Structure Programming
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
ฟังก์ชั่น function.
Lecture no. 10 Files System
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
C language W.lilakiatsakun.
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
โครงสร้าง ภาษาซี.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
การเขียนโปรแกรมภาษาเบื้องต้น (ภาษาซี)
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ 1.2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
บทที่ 2-3 ภาษาซีเบื้องต้น
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
การประมวลผลแบบวน ( LOOP )
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C
บทที่ 4 การรับและแสดงผลข้อมูล
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
การควบคุมทิศทางการทำงาน
คำสั่งวนซ้ำ (Looping)
Concept of Programing.
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
Chapter 9 ตัวชี้ pointer.
INC 161 , CPE 100 Computer Programming
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0
ภาษา C เบื้องต้น.
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
บทที่ 2 ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm)
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
introduction to Computer Programming
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 แนะนำภาษา C Basic C Program
Chapter 7 ฟังก์ชัน Function.
โปรแกรมย่อย (Sub Program)
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Introduction to Computer Programming
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
การสร้างผังงานโปรแกรม
Chapter 7: File แฟ้มข้อมูล Source of slides
Chapter 5: Function.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างภาษาซี C ++ structure By Kru..Patcharanun PhimaiwittayaSchool

หัวข้อ โปรแกรมภาษา แนะนำโปรแกรม C++ การติดตั้งโปรแกรม C++ การ Compile&Run โปรแกรม โครงสร้างโปรแกรมภาษา C คำสั่งแสดงผลลัพธ์ (Output) คำสั่งรับข้อมูล

ขั้นตอนการแปลงภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมภาษา ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ด้วยภาษาระดับต่ำหรือระดับสูง จะต้องเปลี่ยนภาษานั้นให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ โปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) โปรแกรมที่เครื่องทำงานได้ (Executable Program) การเขียนโปรแกรมด้วยแอสเซมบลี (ภาษาระดับต่ำ) เป็นภาษาเครื่อง ขั้นตอนการแปลงภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง

ขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรม โปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) คอมไพเลอร์ (Compiler) ขั้นตอนการแปลภาษาโปรแกรม

แนะนำภาษาซี ภาษาซีเป็นภาษาที่เป็นโครงสร้างและใช้ได้กับงานทั่วไป คำสั่งของภาษาซี จะประกอบด้วยพจน์ (term) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับนิพจน์ทางพีชคณิต และมีส่วนขยายเป็นคำหลัก (keyword) ในภาษาอังกฤษ เช่น if, else, for, do และ while ดังนั้นภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง ภาษา อื่นๆ เช่น ปาสคาล และ ฟอร์แทรน 77 มีลักษณะเป็นโครงสร้างเช่นกัน แต่ภาษาซีก็มี คุณสมบัติพิเศษเพิ่มขึ้น นั่นคือมันสามารถใช้งานในระดับต่ำ (low-level) ได้ ดังนั้นมันจึงเปรียบเหมือนสะพานเชื่อมภาษาเครื่องเข้ากับภาษาระดับสูง จากจุดนี้ ทำให้ภาษาซีสามารถใช้กับงานด้านโปรแกรมระบบ (system programming) เช่น เขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือใช้กับงานทั่ว ๆ ไป เช่น เขียนโปรแกรมแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ที่ซับซ้อน หรือเขียนโปรแกรมเพื่อออกใบเสร็จให้กับลูกค้า เป็นต้น คุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่งของภาษาซี ก็คือ โปรแกรมภาษาซีสามารถ ย้ายไปทำงานในเครื่องอื่นได้ง่ายกว่าภาษาระดับสูงอื่นๆ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะภาษาซีได้แยกส่วนที่ขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ไปเป็นไลบรารี ฟังก์ชัน ดังนั้นโปรแกรมภาษาซีทุกๆ โปรแกรม ก็จะทำงานโดยเรียกฟังก์ชัน จากไลบรารีฟังก์ชันมาตราฐาน และมีวิธีการเขียนใช้งานแบบเดียวกัน ดังนั้น โปรแกรมภาษาซีทั้งหมดจึงสามารถนำมาใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ แตกต่างกันได้ โดยแก้ไขโปรแกรมเพียงเล็กน้อย หรืออาจจะไม่ต้องแก้ไข เลยก็ได้

การติดตั้งโปรแกรม หลังจากดาวโหลดโปรแกรมเสร็จแล้วทำการติดตั้งดังนี้ 1. คลิก devcpp..Setup 2. Click OK

การติดตั้งโปรแกรม 3.Click I Agree 4.Click Next>

การติดตั้งโปรแกรม 5.Click Install 6.Click Yes

การติดตั้งโปรแกรม 7.Click Finish

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี int main(void) { } Statements ; Local Declarations Preprocessor directive Global Declarations main function User define functions int function () โครงสร้างภาษาซีประกอบด้วยหลายส่วน แต่ในการเขียนไม่จำเป็นจะต้องเขียนทุกส่วน

หลักการตั้งชื่อ (Identifier) ไอเดนติฟายเออร์ เป็นชื่อที่ผู้ใช้กำหนดขึ้นในโปรแกรม เช่น ชื่อค่าคงที่ ชื่อตัวแปร ชื่อฟังก์ชัน เป็นต้น ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ (ตัวใหญ่หรือเล็กก็ได้) หรือขีดล่าง ‘_’ ตามด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือขีดล่าง (Underscore) ‘_’ ไม่มีช่องว่างหรือตัวอักษรพิเศษอื่นๆ เช่น ‘!’, ‘@’, ‘#’, ‘$’, ‘%’, ‘^’ เป็นต้น ตัวพิมพ์ใหญ่และเล็กจะเป็นคนละตัวกันเช่น NAME, name, Name, NamE ห้ามซ้ำกับคำสงวน Reserved Words ของภาษา C ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับ Function ที่อยู่ใน Library ของภาษา C

คำสงวน Reserved Words ของภาษา C auto double int struct break else long switch case enum register typedef char extern return union const float short unsigned continue for signed void default goto sizeof volatile do if static While asm _cs _ds _es _ss cdecl far huge interrupt near pascal _export

การใช้ Preprocessor Directive ทุกโปรแกรมต้องมี ใช้เรียกไฟล์ที่โปรแกรมใช้ในการทำงานร่วมกัน ใช้กำหนดค่าคงที่ให้กับโปรแกรม ใช้กำหนดเงื่อนใขในการคอมไพล์ให้กับโปรแกรม เริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย # ที่เราจะเรียนกันในหลักสูตรมี 2 directives คือ #include ใช้สำหรับเรียกไฟล์ที่โปรแกรมใชในการทำงาน #define ใช้สำหรับกำหนดมาโครที่ให้กับโปรแกรม #include #define #undef #if #ifdef #ifndef #else #elif #endif #line #error #pragma

#include <ชื่อไฟล์> หรือ #include “ชื่อไฟล์” วิธีการใช้งาน #include <ชื่อไฟล์> หรือ #include “ชื่อไฟล์” ตัวอย่าง #include <stdio.h> (เป็นการเรียกใช้ไฟล์ stdio.h เข้ามาในโปรแกรม) #include <mypro.h> (เป็นการเรียกใช้ไฟล์ mypro.h เข้ามาในโปรแกรม) < > จะเรียกไฟล์ใน directory ที่กำหนดโดยตัวคอมไพล์เลอร์ “ ” จะเรียกไฟล์ใน directory ทีทำงานอยู่ในปัจจุบัน

#define ชื่อ ค่าที่ต้องการ วิธีการใช้งาน #define ชื่อ ค่าที่ต้องการ ตัวอย่าง #define START 10 (กำหนดค่า START = 10) #define A 3*5/4 (กำหนดค่า A=3*5/4) #define pi 3.14159 (กำหนดค่า pi = 3.14159) #define sum(a,b) a+b (กำหนดค่า sum(ตัวแปรที่1, ตัวแปรที่2) = ตัวแปรที่1+ตัวแปรที่2

ส่วนประกาศ (Global Declarations) เป็นการประกาศตัวแปรเพื่อใช้งานในโปรแกรม โดยตัวแปรนั้นสามารถใช้ได้ในทุกที่ในโปรแกรม เป็นส่วนที่ใช้ในการประกาศ Function Prototype ของโปรแกรม ส่วนนี้ในบางโปรแกรมอาจจะไม่มีก็ได้ ตัวอย่าง int summation(float x, float y) ; (ประกาศ function summation) int x,y ; (กำหนดตัวแปร x,y เป็นจำนวนเต็ม) float z=3; (กำหนดตัวแปร z เป็นจำนวนจริง)

ส่วนประกาศ (Global Declarations) ตัวอย่าง #include <stdio.h> int feet,inches; int main() { feet = 6; inches = feet * 12; printf("Height in inches is %d",inches); return(0); } ผลการทำงาน Height in inches is 72

ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม (Main Function) ระหว่างปีกกาจะประกอบไปด้วยคำสั่ง(Statement) ต่างๆ ที่จะให้โปรแกรมทำงาน แต่ละคำสั่งจะต้องจบด้วยเซมิโคลอน ‘;’ (Semicolon) ต้องมี return(); เสมอ และต้องใส่เลขจำนวนเต็ม เช่น 0 = Success , 1 = Failure #include <stdio.h> int main() { ... Statement ; return(int value); }

ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม (Main Function) ตัวอย่าง #include <stdio.h> int feet,inches; int main() { feet = 6; inches = feet * 12; printf("Height in inches is %d",inches); return(0); } ผลการทำงาน Height in inches is 72

การสร้างฟังก์ชันใช้งานเอง (User Define Function) สร้างฟังก์ชันหรือคำใหม่ ขึ้นมาใช้งานตามที่เราต้องการ ระหว่างปีกกาจะประกอบด้วยคำสั่ง(Statement) ต่างๆ ที่จะให้ฟังก์ชันทำงาน สามารถเรียกใช้ภายในโปรแกรมได้ทุกที่ #include <stdio.h> int function(); int main(void) { ... Statement ; return(int value); } int function() return (int value);

การสร้างฟังก์ชันใช้งานเอง (User Define Function) ตัวอย่าง #include <stdio.h> int FtoI(int); int feet,inches; int main() { feet = 6; inches = FtoI(feet); printf("Height in inches is %d",inches); return(0); } int FtoI(int f) return f*12; ผลการทำงาน Height in inches is 72

การใช้คำอธิบาย (Program Comments) ใช้เขียนส่วนอธิบายโปรแกรม (คอมเมนต์) ช่วยให้ผู้ศึกษาโปรแกรมภายหลังเข้าใจการทำงานของโปรแกรม ส่วนของคำอธิบายจะถูกข้ามเมื่อคอมไพล์โปรแกรม การเขียนส่วนอธิบายโปรแกรม (comments)ทำได้ 2 วิธีคือ // สำหรับคำอธิบายไปจนถึงท้ายบรรทัด และ /* คำอธิบาย */ ลักษณะการใช้เหมือนวงเล็บนั้นเอง

การใช้คำอธิบาย (Program Comments) ตัวอย่าง #include <stdio.h> // Change Feet to Inches int main() // by CPE RMUTT { // Start int feet,inches; feet = 6; // feet  6 inches = feet * 12; // inches  feet * 12 printf("Height in inches is %d", inches); return(0); // write inches } // Stop ผลการทำงาน Height in inches is 72

printf(“control หรือ format string”, variable list …); เป็นคำสั่งที่ใช้ในการแสดงผลออกทางจอภาพ โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ printf(“control หรือ format string”, variable list …); control หรือ format string เป็นส่วนที่ใส่ข้อความที่จะแสดงผล และส่วนควบคุมลักษณะการแสดงผล รวมทั้งบอกตำแหน่งที่ตัวแปรจะแสดงผล variable list เป็นตัวแปรที่ต้องการจะแสดงผล ในกรณีที่ต้องการแสดงข้อความ ไม่จำเป็นต้องมีส่วนนี้

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 1 โปรแกรม ผลการทำงาน

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 2 โปรแกรม ผลการทำงาน

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 โปรแกรม ผลการทำงาน #include <stdio.h> Backslash n ขึ้นบรรทัดใหม่ #include <stdio.h> int main() { printf("Welcome to Phimaiwittaya\n"); printf(" Yourname…………………"); return(0); } ผลการทำงาน Welcome to Phimaiwittaya Yourname…….

การใช้ Control ด้วย Backslash จากตัวอย่างที่ 3 จะเห็นได้ว่าหากต้องการให้แสดงผลข้ามบรรทัดจะต้องเพิ่ม \n ลงไป เรียกว่า backslash นอกจากนี้ยังมีตัวอื่นๆ เช่น \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t เว้นระยะ 1 tab \xhh ใส่ตัวอักษร hh เมื่อ hh เป็นเลขฐานสิบหก เช่น 41 = 'A', 42 = 'B' \a ส่งเสียงปิ้บ \\ แสดง \ \" แสดง "

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 4 โปรแกรม ผลการทำงาน %d %5.2f %s คือ รหัสควบคุม #include <stdio.h> int main() { printf("%d %5.2f %s", 12, 20.3, "Example"); return(0); } ผลการทำงาน 12 20.30 Example %d %5.2f %s คือ รหัสควบคุม

รหัสควบคุมลักษณะ (Format String) %d พิมพ์จำนวนเต็มฐานสิบ %u พิมพ์เลขไม่มีเครื่องหมาย %f พิมพ์เลขทศนิยม %e พิมพ์ในรูปจำนวนจริงยกกำลัง %c พิมพ์ตัวอักษรตัวเดียว %s พิมพ์ชุดตัวอักษร (String) %% พิมพ์เครื่องหมาย % %o พิมพ์เลขฐานแปด %x พิมพ์เลขฐานสิบหก

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 5 โปรแกรม ผลการทำงาน #include <stdio.h> int main() { int x ; x=65 ; printf("%d %c %u %o %x", x, x, -1, x, x); return(0); } ผลการทำงาน 65 A 65535 101 41 65535 คือเลข -1 ของตัวแปรแบบ int จะกล่าวในบทที่ 3

การจัดการหน้าจอด้วยรหัสควบคุมลักษณะ ในกรณีที่ต้องการจัดการหน้าจอแสดงผลสามารถใช้ตัวเลขร่วมกันกับรหัสควบคุมได้ เช่น %5d หมายถึง แสดงตัวเลขจำนวนเต็ม 5 หลักอย่างต่ำ %5.2f หมายถึง แสดงตัวเลขจำนวนจำนวน 5 หลักอย่างต่ำ และ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ค่า %d %5d 12 ___12 123 __123 1234 _1234 12345 ค่า %f %5.2f 1.2 1.200000 _1.20 1.234 1.234000 _1.23 12.345 12.345000 12.35 123.456 123.456000 123.46

คำถามเกี่ยวกับ printf() จากส่วนของโปรแกรม yards = 8; feet = yards * 3; printf(“%d yards is”, yards); printf(“%d feet \n”, feet); ผลการทำงาน คือ ? 8 yards is24 feet

คำถามเกี่ยวกับ printf() จากส่วนของโปรแกรม yards = 8; feet = yards * 3; printf(“%d yards is \n”, yards); printf(“%d feet”, feet); ผลการทำงาน คือ ? 8 yards is 24 feet

scanf(“format string”, address list …); เป็นคำสั่งที่ใช้ในการรับค่า โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ scanf(“format string”, address list …); format string เป็นส่วนที่ใช้ในการใส่รูปแบบของการรับข้อมูล address list เป็นตำแหน่งของตัวแปรที่ต้องการจะเก็บข้อมูล

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 6 โปรแกรม ผลการทำงาน #include <stdio.h> int main() { int x ; scanf("%d",&x); printf("%d %c", x, x); return(0); } ผลการทำงาน 66 66 B 65 65 A

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 9 (Interactive) #include <stdio.h> int main() { float b,h,area ; printf("Input Base :> "); scanf("%f",&b); printf("Input Height :> "); scanf("%f",&h); area = 0.5*b*h ; printf("Area of triangle is %5.2f",area); return(0); } Input Base :> 12.0 Input Height :> 6.0 Area of triangle is 36.00 Input Base :> 3.2 Input Height :> 1.2 Area of triangle is 1.92

จบโครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น Question ?