4 Array ● array types ● foreach loop ● Use arrays with Web forms

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่ง DISPLAY รูปแบบที่ 1 DISPLAY identifier-1, identifier-2 … literal-1 literal-2 [ UPON mnemonic-name ]  ตัวอย่าง DISPLAY STUDENT-NAME. DISPLAY.
Advertisements

เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
VARIABLES, EXPRESSION and STATEMENTS. Values and Data Types Value เป็นสิ่งพื้นฐาน มีลักษณะเป็น ตัวอักษร หรือ ตัวเลข อาทิ 2+2 หรือ “Hello world” Value.
Location object Form object
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
– Web Programming and Web Database
Functions Standard Library Functions User-defined Functions.
Php เงื่อนไข และ การวนซ้ำ Professional Home Page :PHP
Chapter 4 Server-side Technologies
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
Javascripts.
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
PHP Connect Database.
สตริง (String).
1 Javascript with Form. 2 Javascript - Get data from form post method formname.field.value get method formname.getElementById(“field")
Software Engineering Project Presentation
List ADTs By Pantharee S..
การสร้าง WebPage ด้วย Java Script Wachirawut Thamviset.
Linked List List is group of nodes that consists of data and link.
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลMySQL
การใช้ PHP และ MySQLสร้าง”Web-board”
Chapter 10 Session & Cookie.
Java collection framework
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
 Mr.Nitirat Tanthavech.  HTML forms are used to pass data to a server.  A form can contain input elements like text fields, checkboxes, radio-buttons,
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ PHP กับ MySQL
Int isEmpty ( node **ptr_head) ; parameter ชื่อของตัวแปรลิสต์ที่จะตรวจสอบว่า ว่างหรือไม่ return value มีได้ 2 สถานะ คือ ว่าง (1) หรือ ไม่ ว่าง (0) body.
Form.
PHP. Date and Time date(format,timestamp)
PHP. What You Should Already Know HTML CSS JavaScript.
PHP: Session. What is a PHP Session? Session variables solve this problem by storing user information to be used across multiple pages (e.g. username,
1 exit() and break C++ provides a way to leave a program early (before its natural finish) with the exit() function. The format of exit() is as follows:
Collections. Data structures Data Structures ( โครงสร้างข้อมูล ) เกิดจากการ นำข้อมูลขั้นพื้นฐานที่แบ่งแยกไม่ได้ (atomic data type) เช่น int, char, double.
Chapter 9 WWW (2).
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
HTML (Hypertext Markup Language).
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Cookies Sessions Headers
คำสั่งเงื่อนไขและการใช้คำสั่งจัดการฐานข้อมูล
Integrity Constraints
เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชา Web Technology
Chapter 9 ตัวชี้ pointer.
INC 161 , CPE 100 Computer Programming
Control Statements.
Work Shop 2.
int isEmpty ( node **ptr_head) ;
HTML (2) – Web Programming and Web Database
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
PHP (1) - variables - math operations - form method
ภาษา JavaScript Webpage Design and Programming Workshop ( )
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
PHP (2) - condition - loop
HYPER TEXT MARKUP LANGUAGE
SQL – Web Programming and Web Database
Work Shop 1.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
DOM Document Object Model.
JSON API Pentaho User Manual.
Basic PHP หมายเหตุ แต่ละคำสั่งในภาษา PHP จะจบท้ายคำสั่งด้วย semicolon (;) คำสั่งหรือฟังก์ชันในภาษา PHP นั้นจะเขียนด้วยตัวพิมพ์เล็กหรือใหญ่ก็ได้ การกำหนดและใช้ตัวแปร.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
XML, JSON และ AJAX – Web Programming and Web Database
Dr.Surasak Mungsing CSE 221/ICT221 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี Lecture 05: การวิเคราะห์ความซับซ้อนของ ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับข้อมูล.
การสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม (การขอ Username/ Password)
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4 Array ● array types ● foreach loop ● Use arrays with Web forms ● Built-in functions Vikram Vaswani. “Beginner’s Guide PHP”. Mc Graw Hill.(2009). p.85 อ.ธีระพล ลิ้มศรัทธา

การเก็บของอเรย์ <?php // define array $fruits = array('apple', 'banana', 'pineapple', 'grape'); ?> การเข้าถึง ใช้ อินเด็กซ์ทีเริ่มจากศูนย์ $fruits[0] $fruits[3]

การใช้คีย์แทน อินเด็กซ์ <?php // define array $fruits = array( 'a' => 'apple‘, 'b' => 'banana‘, 'p' => 'pineapple‘, 'g' => 'grape’ ); ?> การเข้าถึง ใช้ $fruits['a']

การกำหนด อาร์เรย์ <?php // Type1. define array $frults = array(‘apple’, ‘grap’, ‘pinapple’, ‘banan’); //Type2. $cars[0 ] = 'Ferrari'; $cars[1 ] = 'Lamborghini'; ?>

การกำหนดค่าอินเด็กซ์อาร์เรย์อัตโนมัติ ในกรณีที่ไม่ทราบว่าจะใช้อินเด็กซ์เท่าใด เราทำได้โดยการไม่ เติมค่าเลขอินเด็กซ์ <?php // define array $cars[ ] = 'Ferrari'; $cars[ ] = 'Lamborghini'; ?>

การกำหนดค่าทำได้สองแบบสำหรับการใช้คีย์ <?php // define array $data['username'] = 'john'; $data['password'] = 'secret'; $data['host'] = '192.168.0.1'; ?> <?php // define array $data = array( 'username' => 'john', 'password' => 'secret', 'host' => '192.168.0.1' ); ?>

การอ่านชื่อคีย์ <?php // define array $data = array( 'username' => 'john', 'password' => 'secret', 'host' => '192.168.0.1' ); echo array_keys($data)[0]; //print username ?> เมื่อต้องการอ่านทุกคีย์ เราอาจใช้การวนลูบอ่านได้

การเข้าถึง อาร์เรย์ด้วยคีย์อินเด็กซ์ <?php // define array $data = array( 'username' => 'john', 'password' => 'secret', 'host' => '192.168.0.1' ); // use array value Echo ?> เราเคยได้ใช้อาร์เรย์ในลักษณะนี้มาแล้ว ในอ้างอิงตัวแปร $_GET, $_POST เมื่อมีการคลิกปุ่ม Submit เราอ้างอิงอินพุทแต่ในฟอร์มได้ด้วยอาร์เรย์แบบนี้

การปรับปรุงค่าในอาร์เรย์ <?php // define array $meats = array( 'fish', 'chicken', 'ham', 'lamb‘ ); // change 'ham' to 'turkey' $meats[2] = 'turkey'; ?>

การลบค่าในอะเรย์ <?php // define array $meats = array( 'fish‘, 'chicken‘, 'ham‘, 'lamb’ ); // remove 'fish' unset($meats[0]); // จะทำให้ ณ อินเด็กซ์นี้เป็น Null ?> ถ้าเราลบสมาชิกของอาร์เรย์ด้วยวิธีนี้ ที่อยู่ตรงกลางของอาร์เรย์ จะเกิดอะไรขึ้นกับค่าอื่นๆ ? ถ้าเราลบอาร์เรย์ด้วยวิธี unset( ) PHP จะกำหนด ที่อินเด็กซ์นั้นเป็น NULL

หาขนาดของอะเรย์ count() หรือ sizeof( ) function ตัวอย่างการใช้ <?php // define array $data = array('Monday', 'Tuesday', 'Wednesday'); // get array size echo 'The array has ' . count($data) . ' elements'; ?> อาร์เรย์มีขนาดจำกัดหรือไม่ ในกรณีที่ใส่อาร์เรย์อัตโนมัติ? ไม่จำกัด แต่ถ้าจะจำกัดก็เพียงการกำหนดตัวแปรในหน่วยความจำ ในการ php.ini ด้วยตัวแปร memory_limit

Nested Array <?php $phonebook = array( array( 'name' => 'Raymond‘,'tel' => '1234567‘,'email' => 'ray@pnet.in‘,), 'name' => 'Harold‘, 'tel' => '5942033‘, 'email' => 'harold@tuff.com‘,) ); echo $phonebook[1]['tel']; //print 5942033 ?> PHP ยังสามารถรวมอาร์เรย์ โดยการวางอาร์เรย์อีกตัวหนึ่งไว้ในอาร์เรย์อีกตัวหนึ่ง การเรียกสมาชิกภายในอาร์เรย์ ก็มีกันตามลำดับ การซ้อนกันของอาร์เรย์ จากตัวอย่างนี้แสดงการเรียกอาร์เรย์ที่ สอง(tel) ที่อยู่ในอาร์เรย์แรก ($phonebook)

Loop in Array <?php $cities = array('London', 'Paris', 'Madrid', 'Bombay', 'Jakarta'); // iterate over array for ($i=0; $i<count($cities); $i++) { echo $cities[$i] . "<br/>"; } ?> วิธีทั่วไปในการเข้าถึงอาร์เรย์ได้ด้วยการ วนรอบของ for { … } โดยนับจำนวนสมาชิกในอาร์เรย์ ด้วยเมธอท count( ) ตามตัวอย่างต่อไปนี้

การอ่าน nested array <?php $phonebook = array( array('Raymond','1234567','ray@pnet.in',), array('Harold', '5942033','harold@tuff.com',) ); for ($i=0; $i<count($phonebook);$i++){ echo $i ; for($j = 0; $j<count($phonebook[$i]); $j++){ echo $phonebook[$i][$j]; } echo '<br>'; ?> <table> <tr> <td>No.</td><td>Name</td><td>tel</td><td>email</td> </tr> <?php $phonebook = array( array('Raymond','1234567','ray@pnet.in',), array('Harold', '5942033','harold@tuff.com',) ); for ($i=0; $i<count($phonebook);$i++){ echo '<tr>'; echo '<td>'. $i . '</td>'; for($j = 0; $j<count($phonebook[$i]); $j++){ echo '<td>'.$phonebook[$i][$j].'</td>'; } echo '</tr>'; ?> </table>

foreach loop foreach ($cities as $value) { echo "$value <br/>"; } foreach ($cities as $key=>$value) { echo “Key:” . $key. “ Value:”. $value .”<br/>"; ยังมีวิธีที่ง่ายกว่าคือ การการคำสั่ง foreach คำสั่งนี้ใช้ได้กับ PHP 4.0 ขึ้นไป จากตัวอย่างที่แล้ว เราจะใช้ foreach ใส่ตัวแปรอาร์เรย์ ($cities) และตัวแปรสมาฃิกของอาร์เรย์ ($c)

Try: Create data Table <?php $phonebook = array( array( 'name'=>'Raymond','tel'=>'1234567','email'=>'ray@pnet.in',), 'name'=>'Harold','tel'=>'5942033','email'=>'harold@tuff.com',) ); ?> ให้ใช้คำสั่ง foreach

ArrayIterator (New PHP5.0) $cities = array( "United Kingdom" => "London“,"United States" => "Washington"); $iterator = new ArrayIterator($cities); $iterator->rewind(); //start at begin of array // rewind to beginning of array while($iterator->valid()) { print $iterator->current() . " is in " . $iterator->key() . " <br/> "; $iterator->next(); } แต่ในกรณีที่ใช้อาร์เรย์เป็นแบบ มีคีย์เชื่อมกับค่า จะใช้ออปเจ็กต์ ArrayIterator แทน (ใช้กับ PHP 5 ขึ้นไป) จากตัวอย่างนี้ จะต้องสร้างออปเจ็กต์ของ ArrayIterator ก่อน และเรียกเมธอด rewind ของออปเจ็กต์นี้ เพื่อให้เริ่มต้นที่สมาชิกของอาร์เรย์ While loop ทำงานไปเรื่องจน valid เป็นเท็จ (หมายความว่าอ่านจนสมาชิกสุดท้าย) สมาชิกแต่ละตัวของอาร์เรย์อ่านด้วย current( ) และคีย์ของอาร์เรย์อ่านด้านด้วย key( ) สุดท้ายจะต้องเลื่อนไปยังสมาชิกต่อไปด้วย next( ) Output: London is in United Kingdom  Washington is in United States 

Try : Calculate Grade $grades = array( 25, 64, 23, 87, 56, 38, 78, 57, 98, 95,81, 67, 75, 76, 74, 82, 36, 39,54, 43, 49, 65, 69, 69, 78, 17, 91); ทำคำนวณ เกรด A>79, B>69, C>59, D>49, F<50 และแสดง เป็นตาราง <!DOCTYPE HTML><html><head><title></title></head><body><h2>Test Array</h2><?php$grades = array( 25, 64, 23, 87, 56, 38, 78, 57, 98, 95,81, 67, 75, 76, 74, 82, 36, 39,54, 43, 49, 65, 69, 69, 78, 17, 91);$count = count($grades);$total = $upper = $lower = 0;foreach ($grades as $g) { $total += $g; if ($g <= 20) {$lower++;} if ($g >= 80) {$upper++;}}echo "count: $count, total: $total";echo "<br/> lower than 20: $lower, Greater than 80: $upper";echo "<br/> max: " . max($grades) ;echo "<br/>min: " .min($grades);?> </body><html>

Array in Form <form method="post" action="array-form.php"> Select your favourite artists: <br /> <select name="artists[ ]" multiple="true"> <option value="Britney Spears">Britney Spears</option> <option value="Aerosmith">Aerosmith</option> <option value="Black-Eyed Peas">Black-Eyed Peas</option> </select> <p><input type="submit" name="submit" value="Submit" /> </form> <form method="post" action="array-form.php"> Select your favourite artists: <br /> <select name="artists[ ]" multiple="true"> <option value="Britney Spears">Britney Spears</option> <option value="Aerosmith">Aerosmith</option> <option value="Black-Eyed Peas">Black-Eyed Peas</option> <option value="Diana Ross">Diana Ross</option> <option value="Foo Fighters">Foo Fighters</option> </select> <p><input type="submit" name="submit" value="Submit" /> </form> <ul> <?php if (isset($_POST['artists'])) { echo "You select:"; foreach ($_POST['artists'] as $t) { echo "<li>$t</li> \r\n"; } ?> </ul> ส่งอะเรย์ ในชื่อ $_POST['artists'] ทดลองสร้างฟอร์ม รับข้อมูลแล้วแสดงผลการเลือก

Array in Form <ul> <?php if (isset($_POST['artists'])){ echo "You select:"; foreach ($_POST['artists'] as $t) { echo "<li>$t</li> \r\n"; } ?> </ul>

Try: การเลือก Pizza Before <form method="post" action="pizza.php"> Select your favourite pizza toppings: <br /> peppers</input> <input type="checkbox" name="toppings[]" value="olives">Olives</input> <input type="checkbox" name="toppings[]" value="mint">Mint</input> <input type="checkbox" name="toppings[]" value="bacon">Bacon</input> <p><input type="submit" name="submit" value="Submit" /></p> </form> Before After <html> <head> <title>Pizza Topping Selector</title> </head> <body> <h2>Pizza Topping Selector</h2> You selected the following toppings: <br /> <ul> <?php ?> </ul> <form method="post" action="pizza.php"> Select your favourite pizza toppings: <br /> peppers</input> <input type="checkbox" name="toppings[]" value="olives">Olives</input> <input type="checkbox" name="toppings[]" value="mint">Mint</input> <input type="checkbox" name="toppings[]" value="bacon">Bacon</input> <p><input type="submit" name="submit" value="Submit" /></p> </form> </body> </html>

Array Function

ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชัน explode <?php // define string $str = 'tinker,tailor,soldier,spy'; // convert string to array // output: ('tinker', 'tailor', 'soldier, 'spy') $arr = explode(',', $str); print_r($arr); ?>

สร้างการซุ่มรูปภาพ มีการสุ่มรูปทั้งสองรูป ทั้งมีคำบรรยายใต้รูปด้วย ให้ออกแบบที่มีสอง คอลัมน์ ในลักษณะไดนามิก (ใช้ฟังก์ชัน shuffle()) แม่รักลูก กระต่ายสีขาว