LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
Operator of String Data Type
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ตอนที่ 2 โครงสร้างภาษา C Arduino เบื้องต้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เกม คณิตคิดเร็ว.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
Number system (Review)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
BC320 Introduction to Computer Programming
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
ฟังก์ชันในภาษา C.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Basic Input Output System
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์

LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี

LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี 1. คำสั่งให้ตัวแปลภาษาซีนำไฟล์ชื่อ stdio.h เข้ามารวมกับโปรแกรมที่ เราเขียนก่อนที่จะแปลโปรแกรม 2. สร้างมาโครชื่อ NAME พร้อมกำหนดข้อความ jokebook 3. สร้างมาโครชื่อ NUM1 พร้อมทั้งกำหนดค่าเป็น สร้างมาโครชื่อ NUM2 พร้อมทั้งกำหนดค่าให้กับมาโคร NUM สร้างมาโคร SUM(a,b) พร้อมกับกำหนดค่าให้เป็นผลรวม a กับ b 6. จุดเริ่มต้นของการทำงาน โดยมีชุดคำสั่งอยู่ภายในปีกา 7,12 8. แสดงข้อความ Programming Language : jokebook โดย Name จะถูกแทนที่ด้วยข้อความ jokebook ส่วน %s ใช้สำหรับแสดงข้อความ ค่าของมาโคร NAME จะถูกนำมาแสดงแทนตำแหน่ง %s 9. แสดงข้อความ NUM1=100 แล้วขึ้นบรรทัดใหม่เนื่องจาก NUM1 ถูก แทนด้วย 100 ส่วน %d ใช้สำหรับแสดงตัวเลขจำนวนเต็ม โดยตัวแปล ภาษาซีจะนำเลขที่อยู่หลังเครื่องหมาย, มาแสดงในตำแหน่งของ %d 10. แสดงข้อความ NUM2=200 แล้วขึ้นบรรทัดใหม่เนื่องจาก NUM2 จะถูกแทนที่ด้วย แสดงข้อความ SUM = 5 แล้วขึ้นบรรทัดใหม่เนื่องจาก SUM(3,2) จะถูกแทนด้วย 3+2 เมื่อสั่งรันโปรแกรมเมื่อตัวแปลภาษาตรวจพบมาโคร ที่ตำแหน่งใดก็ตามมาโครนั้นจะถูกแทนด้วยค่าที่กำหนดไว้ * มาโครคือชื่อที่เราสร้างมาในโปรแกรม พร้อมกำหนดค่าและความหมายในมาโคร นั้น * #define เป็นโพรเซสเซอร์ไดเรคทีฟใช้สำหรับกำหนดค่าและสร้างมาโคร

LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี

LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี 1. คำสั่งให้ตัวแปลภาษาซีนำไฟล์ชื่อ stdio.h เข้ามารวมกับโปรแกรมที่ เราเขียนก่อนที่จะแปลโปรแกรม 2. สร้างรตัวแปลชื่อ a โดยเป็นตัวแปรชนิด int สำหรับเก็บข้อมูลชนิด ตัวเลขจำนวนเต็มพร้อมกำหนด a=5 3. สร้างตัวแปลชื่อ b ชนิด int และกำหนดค่าเป็น สร้างตัวแปลชื่อ c ชนิด int โดยยังไม่กำหนดค่า 5. จุดเริ่มต้นของการทำงาน โดยมีชุดคำสั่งอยู่ภายในปีกา 6,10 7. คำสั่ง + ค่าในตัวแปล a กับ b แล้วนำผลมาเก็บไว้ที่ตัวแปล c 8. คำสั่งแสดงข้อความ SUM = ค่าของตัวแปล c ออกทางหน้าจอแล้ว ขึ้นบรรทัดใหม่

LOGO ส่วนของตัวโปรแกรม ภาษาซีจะเริ่มต้นการทำงานที่ main() เป็นต้นไปโดยจะมีรูปแบบคำสั่ง เป็น 2 รูปแบบคือ 1. คำสั่งเดี่ยว (statement) เป็นคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวเพื่อให้ทำงาน อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้นเช่น คำสั่งกำหนดค่าตัวแปลหรือคำสั่งการ คำนวณทางคณิตศาสตร์ 2. ฟังชั่น (function) คือการนำเอาหลายๆคำสั่งมาเขียนรวมกันเป็น บล็อกของคำสั่ง โดยจะแบ่งเป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ ฟังก์ชั่นไลบรารี และฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้นมาเอง 2.1 ฟังก์ชั่นไลบรารี คือฟังก์ชั่นมาตรฐาน มาพร้อมกับ ตัวแปลภาษาซี เพื่อใช้งานด้านต่างๆ โดยจะเก็บอยู่ในนามสกุล.h หรือ ที่เรียกว่าเฮ็ดเดอร์ไฟล์ โดยการเรียกใช้งานมักจะใช้คำสั่ง #include ไว้ที่ส่วนหัวของโปรแกรม เพื่อให้ตัวแปลภาษาเข้าใจ ว่าเรามีการเรียกใช้ไลเบอรี่ฟังก์ชั่นใน ดังกล่าว 2.2 ฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้นมาเอง ในฟังก์ชั่นไลบรารี บางครั้งอาจมีฟังก์ชั่นไลบรารีที่ไม่ตรงกับความต้องการจึงอนุญาตให้ สร้างขึ้นมาเอง แต่จะต้องเขียนให้ถูกต้อง

LOGO ส่วนของตัวโปรแกรม ภาษาซีจะเริ่มต้นการทำงานที่ main() เป็นต้นไปโดยจะมีรูปแบบคำสั่ง เป็น 2 รูปแบบคือ 1. คำสั่งเดี่ยว (statement) int a=5;  สร้างตัวแปรชื่อ a สำหรับเก็บตัวเลขจำนวนเต็ม กำหนดค่าให้เป็น 5 float b=3.0;  สร้างตัวแปรชื่อ b สำหรับเก็บตัวเลขจำนวนทศนิยม กำหนดค่าให้เป็น 3.0 c=a+b;  คำสั่งบวกค่าในตัวแปร a กับ b โดยเก็บผลลัพธ์ไว้ใน ตัวแปร C c=a*b;  คำสั่งคูณค่าในตัวแปร a กับ b โดยเก็บผลลัพธ์ไว้ ในตัวแปร C

LOGO ส่วนของตัวโปรแกรม 2.1 ฟังก์ชั่นไลบรารี 1. คำสั่งให้ตัวแปลภาษาซีนำไฟล์ชื่อ stdio.h เข้ามารวมกับโปรแกรม ที่เราเขียนก่อนที่จะแปลโปรแกรม 2. เนื่องจากโปรแกรมมีการเรียกใช้ฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ sqrt() จะ ถูกเก็บไว้ในไฟล์ 3. สร้างตัวแปรชนิด int ชื่อ a สำหรับจัดเก็บจำนวนเต็ม พร้อม กำหนดค่าเริ่มต้นให้เป็น สร้างตัวแปรชนิด int ชื่อ b สำหรับจัดเก็บจำนวนทศนิยม 5. จุดเริ่มต้นของการทำงาน โดยมีชุดคำสั่งอยู่ภายในปีกา 6,9 7. เรียกใช้ฟังก์ชั่น sqrt() เพื่อหาค่า สแควรูต ของตัวแปร a ผลลัพธ์ เก็บไว้ในตัวแปร b 8. เรียกใช้ฟังก์ชั่น printf แสดงผลออกทางหน้าจอโดย %d ใช้ สำหรับแสดงจำนวนเต็มส่วน %f ใช้แสดงตัวเลขทศนิยม ตัวแปลภาษา จะนำค่าตัวแปร a มาแสดงในตำแหน่ง %d และนำค่า b มาแสดงใน ตำแหน่ง %f

LOGO ส่วนของตัวโปรแกรม 2.2 ฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้นมาเอง  เรียกใช้ฟังก์ชั่น even_odd ที่เขียนเอง  เรียกใช้ฟังก์ชั่น pow() ซึ่งเป็นไลบราลี่ ฟังก์ชั่นเพื่อกาเลขยกกำลัง  เรียกใช้ฟังก์ชั่น even_odd อีกครั้ง  เรียกใช้ฟังก์ชั่น even_odd ที่เขียนเอง

LOGO เครื่องหมายการคำนวณทาง คณิตศาสตร์ เครื่องหมายการดำเนินการตัวอย่าง + บวก Z=y+x - ลบ Z=y-x * คูณ Z=y*x / หาร Z=y/x % หารเอาเศษ Z=y%x ++ เพิ่มทีละ 1 Z=++x Z=x++ -- ลดทีละ 1 Z=--x Z=x--

LOGO เครื่องหมายการคำนวณทาง คณิตศาสตร์ เครื่องหมายการดำเนินการตัวอย่าง += บวกแบบลดรูป Z+=x -=-= ลบแบบลดรูป Z-=x *=*= คูณแบบลดรูป Z*=x /=/= หารแบบลดรูป Z/=x %= หารเอาเศษแบบลด รูป Z%=x == เท่ากับ Z==x != ไม่เท่ากับ Z!=x

LOGO เครื่องหมายการคำนวณทาง คณิตศาสตร์ เครื่องหมายการดำเนินการตัวอย่าง < น้อยกว่า Z<x > มากกว่า Z<x <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ Z<=x >= มากกว่าหรือเท่ากับ Z>=x

LOGO แบบทดสอบ 1. จงแสดงข้อความต่อไปนี้ออกบนหน้าจอ 2. ให้เขียนโปรแกรมโดยเรียกใช้คำสั่งพรีโพรเซสเซอร์ไดเร็คทีฟ #define ส้รางขึ้นมาสองตัวแรกชื่อว่า major เก็บข้อความ Technologycom และตัวที่สองชื่อว่า code เก็บค่าตัวเลข 58 แล้ว เขียนคำสั่งให้แสดงค่าของมาโครทั้ง 2 ออกทางหน้าจอให้ผลลัพธ์ ออกมาในรูปแบบดังต่อไปนี้ Technology computer maesot I love Technologycom my id 58

LOGO A&Q