ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
Advertisements

การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Operator of String Data Type
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ITERATION (LOOP) สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
Work Shop 1.
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การเขียน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
หลักในการออกแบบเว็บไซต์
Week 5 C Programming.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี

วัตถุประสงค์ 1. นักศึกษารู้จักรูปแบบ คำสั่งแสดงผล 2. นักศึกษาเขียนคำสั่งใน การแสดงผลข้อมูลตัวแปร อาร์เรย์ได้ 3. นักเรียนจดบันทึกข้อมูล ต่างๆ ลงในสมุดได้อย่าง เรียบร้อย : LAB-W2 ARRAY & PRINTF

#include ** คำสั่งเรียกคำสั่งที่เกี่ยวข้องจาก Library #include main() ** คำสั่งสร้างชุดคำสั่งของโปรแกรม { ** เปิดคำสั่งการทำงาน คำสั่งประกาศตัวแปร clrscr(); ** คำสั่งล้างหน้าจอ คำสั่งการทำงาน... getch(); ** คำสั่งหยุดพักหน้าจอ } ** ปิดคำสั่งการทำงาน C Structure) โครงสร้างของภาษาซี (C Structure) : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 3

จำเป็นต้องทราบก่อนการเริ่มเขียนโปรแกรม เพื่อใช้ กำหนดการประกาศตัวแปร ชนิดของข้อมูลที่ใช้บ่อยๆคือ Data Type : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 4 ชนิดของข้อมูล คำสั่งที่ ต้องใช้ ตัวแทน ข้อมูล ความหมาย Characterchar%c, %s ตัวอักษร ตัวเลข และอักขระ Integerint%d ตัวเลขจำนวนเต็ม Floating Pointfloat%f ตัวเลขจำนวนจริง เพิ่มเติม :

คือ หน่วยความจำภายใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ใน การเก็บค่าข้อมูลที่ได้จากการรับ ค่าหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลของโปรแกรม *** การรับค่าข้อมูลทุกตัวจะต้องถูกเก็บไว้ใน ตัวแปรเสมอ เพื่อนำไปใช้ในการประมวลผลให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในโปรแกรม : LECTURE-W2 Introduce C & Data Type 5 ตัวแปร (Variable)

1. ตั้งชื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลที่ เก็บ 2. ตั้งชื่อห้ามเว้นวรรค หากต้องการ เว้นวรรคให้ใช้ _ แทน 3. ตั้งชื่อต้องใช้ A-Z หรือ a-z หรือ 0-9 เท่านั้น 4. ตัวอักษร พิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่ ถือเป็นคนละตัวกัน 5. ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน เช่น is am are not ฯลฯ : LECTURE-W2 Introduce C & Data Type 6 กฎการตั้งชื่อตัวแปร

รูปแบบคำสั่งประกาศตัวแปร คำสั่งประกาศตัวแปร : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 7 ชื่อย่อของ ชนิดข้อมูล ; ชื่อตัว แปร เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บชื่อนักเรียน สามารถกำหนดได้ดังนี้ เก็บชื่อ นักเรียน Student Name charstdName ; ชนิด ข้อมูล ตัวอักษร char

เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บ จำนวนครู และ อายุครู คำสั่งประกาศตัวแปร : LECTURE-W2 Introduce C & Data Type 8 อายุครู Age of Teacher intT_Num ; T_Age ชนิด ข้อมูล ตัวเลข จำนวนเต็ม int จำนวนครู Number of Teacher T_Num intT_Age ; int;T_Num,

คือ การกำหนดค่าตัวแปรภายใต้ชื่อตัวแปร 1 ตัว กำหนดให้สามารถทำการเก็บค่าข้อมูลได้มากกว่า 1 ค่า ข้อมูล โดยอาศัยดัชนีในการชี้ตำแหน่งของข้อมูลนั้นๆ ซึ่งอาร์เรย์ แบ่งเป็นมิติ หลาย มิติ เช่น อาร์เรย์ 1 มิติ อาร์เรย์ 2 มิติ อาร์เรย์ หลายมิติ ตัวแปรอาร์เรย์ : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 9

รูปแบบคำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 10 ชื่อย่อของ ชนิดข้อมูล ; เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บชื่อนักเรียน จำนวน 25 ตัว เก็บชื่อ นักเรียน Student Name charstdName[25] ; stdName ชนิด ข้อมูล ตัวอักษร char ชื่อตัวแปร [ จำนวนช่อง ] ไม่เกิน 25 ตัว จำนวนช่อง 25

คำสั่งประกาศตัวแปร คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 11 i * NUN/0 char stdName[25] = “NUN” ; stdName[25]

รูปแบบคำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 12 ชื่อย่อของ ชนิดข้อมูล ; เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บชื่อนักเรียน 2 ชุด โดยแต่ละชื่อ ไม่เกิน 25 ตัว เก็บชื่อ นักเรียน Student Name charstdName[2][25] ; stdName ชนิด ข้อมูล ตัวอักษร char ชื่อตัวแปร [ จำนวน แถว ][ จำนวนช่อง ] ไม่เกิน 25 ตัว จำนวนช่อง 25 2 ชุด จำนวนแถว 2

คำสั่งประกาศตัวแปร คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 13 i MEITAT/0 1 PRAKARN char stdName[2][25] = {{“MEITAT”}, {“PRAKARN”}} ; stdName[2][25] stdName[1][3] คือ K stdName[0][5] คือ T

รูปแบบคำสั่งแสดงผล (printf) คำสั่งแสดงผล : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 14 printf(“ ข้อความกำหนดเอง ”) ; printf(“ ตัวแทนข้อมูลตามชนิดข้อมูล ”, ชื่อตัว แปร ) ; เช่น printf(“Hello C”) ;Hello C printf(“%d”, stdAge) ;20 int stdAge = 20 ;

คำสั่งนี้จะสามารถนำไปใช้ในการจัดการการ แสดงผลบนจอภาพ อาทิ การขึ้นบรรทัดใหม่ การย่อหน้า จำเป็นต้องใช้ร่วมกับคำสั่ง printf และต้องเขียน รหัสควบคุมอยู่ใน “ ” เท่านั้น ที่มา : คำสั่งที่ใช้จัดการในการแสดงผล : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 15 รหัสควบคุมความหมาย \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t แท็บย่อหน้าข้อความ \bBack Space

เช่น คำสั่งที่ใช้จัดการในการแสดงผล : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 16 printf(“\tHello\n C”) ; Hello C ผลลัพธ์ที่แสดงผลอยู่ บนจอภาพ

เขียนโปรแกรมภาษาซีให้แสดงประวัติส่วนตัว ของตัวเองให้คล้ายกับตัวอย่างต่อไปนี้ Work Shop : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 17 ที่ขีดเส้นใต้คือ ต้อง เก็บค่าลงตัวแปร ก่อนจึงค่อยดึงมา แสดง