งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า (Electrical Field and Construction of Transformer)   แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

2 แม่เหล็กไฟฟ้าเหมือนหรือแตกต่างจากแม่เหล็กถาวร อย่างไร
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แม่เหล็กไฟฟ้าเหมือนหรือแตกต่างจากแม่เหล็กถาวร อย่างไร โครงสร้างของ หม้อแปลงไฟฟ้าเกี่ยวข้องกับแม่เหล็กไฟฟ้าอย่างไร แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

3 แม่เหล็กแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แม่เหล็กแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง? 1. แม่เหล็กถาวร มีขั้วเหนือและใต้ที่แน่นอน เป็นแม่เหล็กธรรมชาติ หรือแม่เหล็กประดิษฐ์ เช่น โลหะผสม ALNICO 2. แม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านขดลวดที่พันบนแกน อากาศหรือแกนเหล็ก แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

4 แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้น
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้น ได้อย่างไร? 1. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านแท่ง ตัวนำ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า I F ทิศทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

5 ทิศทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 2. กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเหนี่ยวนำ N S แกนเหล็ก ขดลวดเหนี่ยวนำ กระแส ไฟฟ้า ขั้วใต้ ขั้วเหนือ ทิศทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

6 ทิศทางของขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 2. กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเหนี่ยวนำ ขดลวดเหนี่ยวนำ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทิศทางของขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าหาได้จากกฎมือขวา แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

7 กฎมือขวา กล่าวว่าอย่างไร (Right Hand Rule)
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 กฎมือขวา กล่าวว่าอย่างไร (Right Hand Rule) 1. เมื่อกำมือขวาถ้าให้นิ้วหัวแม่มือ ชี้ทิศทางการไหลของกระแส ไฟฟ้า (I) นิ้วทั้ง 4 จะชี้ทิศทาง ของเส้นแรงแม่เหล็กรอบตัวนำ 2. เมื่อกำมือขวาถ้าให้นิ้วทั้งสี่ ชี้ทิศทางการไหลของกระแส ไฟฟ้า (I) นิ้วหัวแม่มือจะชี้ ทิศทางของขั้วเหนือ (N) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

8 พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หม้อแปลงไฟฟ้า คืออะไร (Transformer) เครื่องกลไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ส่งผ่านพลังงานไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าหนึ่งไปสู่วงจรไฟฟ้าอีกวงจรหนึ่งโดยที่ความถี่ไฟฟ้ามีค่าเท่าเดิม วงจรไฟฟ้าที่ 1 วงจรไฟฟ้าที่ 2 พลังงานวงจรไฟฟ้าที่ 1 พลังงานวงจรไฟฟ้าที่ 2 พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

9 หม้อแปลงไฟฟ้ามีโครงสร้างอย่างไร?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หม้อแปลงไฟฟ้ามีโครงสร้างอย่างไร? 1. แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 2. ขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

10 แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) 2. แบบเชลล์ (Shell Type) 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

11 แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 แกนเหล็กหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) 2. แบบเชลล์ (Shell Type) 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

12 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 ขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) ขดลวดทุติยภูมิ ภาระไฟฟ้า ขดลวดปฐมภูมิ ~ 2. แบบเชลล์ (Shell Type) ภาระไฟฟ้า ~ ขดลวดปฐมภูมิ ขดลวดทุติยภูมิ 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

13 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 ขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสมีลักษณะอย่างไรบ้าง? 1. แบบคอร์ (Core Type) ~ 2. แบบเชลล์ (Shell Type) 3. แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

14 ต้นขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า หมายถึงอะไร?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 ต้นขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า หมายถึงอะไร? ต้นขดลวด ต้นขดลวด ต้นขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

15 หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 จุดเริ่มต้นในการพันขดลวดที่มีทิศทางการพันไปในทางเดียวกันโดยใช้สัญลักษณ์เป็นจุด (Dot) ต้นขดลวด ขดลวดทุติยภูมิ ภาระไฟฟ้า ขดลวดปฐมภูมิ ~ ภาระไฟฟ้า ~ ขดลวดปฐมภูมิ ขดลวดทุติยภูมิ ต้นขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

16 หม้อแปลงไฟฟ้าแบ่ออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง?
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 หม้อแปลงไฟฟ้าแบ่ออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง? 1. แบ่งตามลักษณะแกนเหล็ก 1.1 แบบคอร์ (Core Type) 1.2 แบบเชลล์ (Shell Type) 1.3 แบบเทอร์รอย (Toroidal Type) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

17 หรือ หม้อแปลงไฟฟ้าแบบออโต (Auto)
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 2. แบ่งตามจำนวนขดลวด หม้อแปลงไฟฟ้า 2.1 ชนิด 1 ขดลวด หรือ หม้อแปลงไฟฟ้าแบบออโต (Auto) 2.2 ชนิด 2 ขดลวด ได้แก่ขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิ แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

18 3. แบ่งตามระบบไฟฟ้า 3.1 ชนิด 1 เฟส 3.2 ชนิด 3 เฟส
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 3. แบ่งตามระบบไฟฟ้า 3.1 ชนิด 1 เฟส 3.2 ชนิด 3 เฟส แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

19 4.1 ชนิดแปลงขึ้น (Step up)
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 4. แบ่งตามการแปลง แรงดันไฟฟ้า 4.1 ชนิดแปลงขึ้น (Step up) 220 V 2,400 V ~ 4.2 ชนิดแปลงลง (Step down) 220 V 24 V ~ แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

20 4.3 ชนิดอัตราส่วน 1:1 (One to One) ~ ~ 220 V 110 V
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 4.3 ชนิดอัตราส่วน 1:1 (One to One) 220 V ~ 110 V ~ แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

21 5.1 ประกอบเครื่องวัดไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 5. แบ่งตามการใช้งาน 5.1 ประกอบเครื่องวัดไฟฟ้า (1) หม้อแปลงกระแสไฟฟ้า (Current Transformer :CT) (2) หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า (Potential Transformer :PT) แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

22 5.3 หม้อแปลงใช้งานทั่วไป
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 5.2 หม้อแปลงระบบจำหน่าย 5.3 หม้อแปลงใช้งานทั่วไป แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์

23 สัญลักษณ์ของหม้อแปลงไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 1 แผ่นที่ 1-1 สัญลักษณ์ของหม้อแปลงไฟฟ้า 1. ระบบ SI 2. ระบบอเมริกัน แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า เสถียร โพธิรัตน์


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google