ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThirakun Ekaluck ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง เรื่อง การเขียนทศนิยมให้อยู่ในรูปเศษส่วน สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข
2
ตัวอย่าง . . 0.08 วิธีทำ ให้ N = 0. 08 ดังนั้น N = 0.080808… (1)
. . ดังนั้น N = … (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100N = … (2) สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1)
3
จะได้ 100N - N = (8.080808…) - (0.080808...) 99N = 8 N = นั่นคือ 0.08
นั่นคือ . . = 99 8 ตอบ 99 8
4
ตัวอย่าง . . วิธีทำ . . 99 8 = ตอบ 99 8
5
ตัวอย่าง . 13.93 วิธีทำ ให้ N = 13.93 ดังนั้น N = 13.9333… (1)
คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100 N = … (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ N = … (3)
6
สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 100N - 10N
= ( …) - ( ) 90 N = = 15 209 N = 90 1254 นั่นคือ . = 13 15 14 ตอบ 13 15 14
7
1393 - 139 90 1254 90 ตัวอย่าง 13.93 . วิธีทำ 13.93 . = = = 13 = ตอบ
วิธีทำ . 90 = = 90 1254 = 13 15 14 = 15 209 ตอบ 13 15 14
8
ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 1 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 9 และ
ข้อสังเกต 1 ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 1 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 9 และ ตัวเศษตัวเลขที่เป็นตัวซ้ำ เช่น 9 7 = 0.7 .
9
ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 2 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 99 และ
ข้อสังเกต 2 ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 2 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 99 และ ตัวเศษตัวเลขที่เป็นตัวซ้ำ เช่น 99 13 0.13 = . .
10
ถ้าทศนิยมดังกล่าวมีบางส่วนซ้ำ และมีบางส่วนไม่ซ้ำ เมื่อเขียนใน
ข้อสังเกต 3 ถ้าทศนิยมดังกล่าวมีบางส่วนซ้ำ และมีบางส่วนไม่ซ้ำ เมื่อเขียนใน รูปเศษส่วน
11
ตัวเศษ เท่ากับ ตัวเลขทั้งหมดที่อยู่หลัง
จุดทศนิยม ลบด้วยตัวเลขที่ไม่ซ้ำ ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 และ 0 จำนวน 9 เท่ากับจำนวนเลขโดดที่ซ้ำ จำนวน 0 เท่ากับจำนวนเลขโดดที่ไม่ซ้ำ
12
ลองทำดู
13
. 1) 0.5 วิธีทำ ให้ N = 0.5 ดังนั้น N = 0.555… (1) .
คูณทั้งสองข้างของสมการ (1) ด้วย10 จะได้ 10 N = 10 × 10 N = (2)
14
ตอบ 9 5 . = 9 5 5 N = 9 สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1)
จะได้ 10N - N = (5.555…) - (0.555…) 9 N = 5 9 5 N = ดังนั้น นั่นคือ 9 5 . = ตอบ 9 5
15
1) 0.5 . วิธีทำ . 9 5 = ตอบ 9 5
16
. 2) 0.52 วิธีทำ ให้ N = 0.52 ดังนั้น N = 0.5222… (1)
คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100 N = … (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ N = 5.222… (3)
17
สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 100N - 10N = (52.222…) - (5.222...)
= (52.222…) - ( ) 90 N = 47 N = 90 47 นั่นคือ . = 90 47 ตอบ 90 47
18
2) 0.52 . วิธีทำ . 90 5 52 - = = 90 47 ตอบ 90 47
19
. . 3) 0.48 วิธีทำ ให้ N = 0. 48 ดังนั้น N = 0.484848… (1)
. . ดังนั้น N = … (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100N = … (2) สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1)
20
จะได้ 100N - N = (48.484848…) - (0.484848...) 99N = 48 N = =
33 16 นั่นคือ . . หรือ = 33 16 99 48 ตอบ 33 16
21
3) 0.48 . . วิธีทำ . . 99 48 = = 33 16 ตอบ 33 16
22
. . 4) 0.236 วิธีทำ ให้ N = 0.236 ดังนั้น N = 0.2363636… (1)
. . ดังนั้น N = … (1) คูณสมการ (1) ด้วย 1,000 จะได้ 1,000 N = … (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ N = … (3)
23
สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 1,000 N - 10 N
= ( …) - ( ) 990 N = 234 = 55 13 N = 990 234 นั่นคือ . . = 990 234 หรือ 55 13 ตอบ 55 13
24
4) 0.236 . . วิธีทำ 0.236 . . 990 2 236 - = = 990 234 = 55 13 ตอบ 55 13
25
37 = 99 35 35 2+ 2 99 99 จงทำทศนิยมซ้ำให้อยู่ในรูปเศษส่วน 1) 0.37 . .
2) 2.35 . . = 99 35 2 = 99 35 2+
26
3) 0.63 . 90 6 63 - = = 90 57 = 30 19
27
4) 0.572 . 900 57 572 - = = 900 515 = 180 103
28
5) 0.572 . . 990 5 572 - = = 990 567 = 110 63
29
. 6) 90 34 - 3 = 1+ 90 31 = 1+ 90 31 = 1
30
.. 7) 990 = 3+ 990 529 = 3+ 990 529 = 3
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.