งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

2 วัตถุประสงค์ เป็นขวัญและกำลังใจแก่หน่วยปฏิบัติงานในภูมิภาค และเกิดกระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับหน่วยงาน หารูปแบบการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ และเป็นแบบอย่างอำเภอดีเด่นด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับเขตบริการสุขภาพ จัดมหกรรมแสดงผลการพัฒนาสุขภาพอำเภอดีเด่นด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับประเทศ

3 ขั้นตอนกิจกรรม สำนัก NCD จัดงานมหกรรมการจัดการความรู้ ระดับประเทศ
สค 58 สำนัก NCD จัดงานมหกรรมการจัดการความรู้ ระดับประเทศ นำเสนอ Beat practice 12 เขตบริการสุขภาพ กค 58 สคร. จัดมหกรรมความรู้ และคัดเลือกอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 12 เขตบริการสุขภาพ ทีมประเมินจาก สคร + สสจ (ที่ปรึกษา ผู้ตรวจราชการ ) มีค 58 สำนักโรคไม่ติดต่อ จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้กับ สคร. และ สสจ. จังหวัดคัดเลือก อำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันโรคควบคุมโรคไม่ติดต่อ เมย - มิย 58 ทีมประเมินระดับอำเภอ / จังหวัด

4 องค์ประกอบเกณฑ์และคะแนน
เป็นอำเภอที่ผ่านเกณฑ์อำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนในระดับ “ดี” (คือ พื้นฐาน + DCCD ผ่านเกณฑ์ > 80%) 20 2. มีกิจกรรมและผลผลิตที่สำคัญ 80 3. มีผลลัพธ์หรือผลความสำเร็จการ ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค NCD 50 รวม 150

5 กิจกรรมและผลผลิตที่สำคัญ (80 คะแนน)
เกณฑ์การประกวด คะแนน มาตรการลดความเสี่ยงในกลุ่มประชากรทั่วไป 20 - หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย 4 หมู่บ้าน ต่อตำบล (5) - ตำบลที่ผ่านเกณฑ์ตำบลจัดการสุขภาพดีในระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 - องค์กรไร้พุง/สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสุข - ชุมชน มีแผนการดำเนินงานโดยชุมชน ที่เป็นรูปธรรม อย่างน้อย 1 โครงการ มาตรการลดความเสี่ยงในกลุ่มเสี่ยงสูง - กลุ่ม pre DM ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม นัดติดตาม 1 / 2 / 3 เดือน และนัดตรวจ FPG ในเดือนที่ 6 ได้ ≥ ร้อยละ 80 (10) - กลุ่ม pre HT ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม ติดตามค่าความดันโลหิต 1, 2 , 3 , 6 เดือน ได้ ≥ ร้อยละ 80 มาตรการการจัดการโรคเรื้อรัง 40 มีการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการ (20) - การพัฒนาคุณภาพของคลินิก NCD ในระดับ รพสต. 10 - รพ. ผ่านเกณฑ์ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการประเมิน CVD risk ได้ ≥ ร้อยละ 60

6 ผลลัพธ์หรือผลความสำเร็จการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (50 คะแนน)
เกณฑ์การประกวด คะแนน 1. มีนวตกรรม หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือผลิตภัณฑ์ ด้านการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ 5 2. ความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน หรือ รอบเอวเกิน ลดลง 3. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ (อย่างน้อย 3 เดือน) ได้ ≥ ร้อยละ 50 4. ผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2557 ด้วยโรคเบาหวานลดลง 5. ผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2557 ด้วยโรคความดันโลหิตสูงลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดได้ตั้งแต่ร้อยละ 40 ขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 5 จากเดิม - ตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 40 เป้าหมายดำเนินการของ ปี 2558 คือร้อยละ 42 > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 10 จากเดิม - ตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 30 เป้าหมายดำเนินการของ ปี 2558 คือร้อยละ 33 10

7 ผลลัพธ์หรือผลความสำเร็จการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (50 คะแนน) ต่อ
7. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความกันโลหิตได้ดี > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่ สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 5 จากเดิม - ตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 50 เป้าหมายดำเนินการของ ปี 2558 คือร้อยละ 52.5 > เป้าหมาย เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ระดับอำเภอที่สามารถ ควบคุมระดับความดันโลหิตได้น้อยกว่าร้อยละ 50 ในปีงบประมาณ 2557 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 10 จากเดิมตัวอย่าง ปี 2557 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ร้อยละ 40 เป้าหมายดำเนินการ ของ ปี 2558 คือร้อยละ 44 10 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 5

8 เกณฑ์การให้คะแนน การให้รางวัล
กรรมการประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการเขตบริการสุขภาพ, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต (เลขา) พิจารณาเกณฑ์และการให้คะแนน การให้รางวัล รางวัลดีเด่น / ดีเยี่ยม / ดี อำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับเขตบริการสุขภาพ การมอบโล่อำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อระดับเขตบริการสุขภาพ

9 งบประมาณที่จัดสรร (บาท)
คัดเลือกผลงาน / มหกรรม รางวัล รวม สคร 1 120,000 (3 จังหวัด) 120,000 (เขต 4) 240,000 สคร 2 200,000 (5 จังหวัด) - 200,000 สคร 3 320,000 (8 จังหวัด) 120,000 (เขต 6) 440,000 สคร 4 120,000 (เขต 5) สคร 5 160,000 (4 จังหวัด) 120,000 (เขต 9) 280,000 สคร 6 360,000 (9 จังหวัด) 240,000 (เขต 7+8) 600,000 สคร 7 280,000 (7 จังหวัด) 120,000 (เขต 10) 400,000 สคร 8 120,000 (เขต 3 320,000 สคร 9 120,000 (เขต 2) สคร 10 120,000 (เขต 1) สคร 11 120,000 (เขต 11) สคร 12 120,000 (เขต 12) 3,040,000 1,440,000 4,480,000

10


ดาวน์โหลด ppt เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google