ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKankawee Chaipoowapat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาความรับผิดชอบโดยใช้แบบตารางการส่งงาน ในวิชาการส่งเสริมการขาย รหัส – ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 สาขางานการขาย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
2
ปัญหาการวิจัย จากการจัดการเรียนการสอนในวิชาการส่งเสริมการขาย รหัสวิชา – ในปีการศึกษา ผู้สอนพบว่านักศึกษาที่เรียนในรายวิชานี้บางส่วน ขาดความรับผิดชอบในการส่งงาน ทำให้เกิดปัญหาในการเรียนการสอน เนื่องจากนักศึกษาขาดความตะหนัก และไม่สามารถทราบด้วยตนเองว่ายังขาดส่งงานใดบ้าง
3
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบโดยใช้แบบตารางการส่งงาน ในวิชาการส่งเสริมการขาย รหัส ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานการขาย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
4
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ที่เรียนในรายวิชาการส่งเสริมการขาย รหัส – ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา สาขางานการขาย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ จำนวน 14 คน โดยแบ่งเป็น ชาย 5 คน และหญิง 9 คน
5
ตัวแปรที่ทำการศึกษา ตัวแปรต้น แบบตารางการส่งงาน
ตัวแปรต้น แบบตารางการส่งงาน ในรายวิชาการส่งเสริมการขาย รหัส – 2208 ตัวแปรตาม ความรับผิดชอบของนักศึกษา
6
เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล
1. วิเคราะห์หลักสูตร และแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการส่งเสริมการขาย รหัส – จำนวน 9 แผนการจัดการเรียนรู้ เวลาเรียน 18 สัปดาห์ จำนวน 54 ชั่วโมง 2. ตารางสำหรับเก็บและบันทึกข้อมูล ในรายวิชา การส่งเสริมการขาย รหัส – 2208
7
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
ตาราง แสดงจำนวนร้อยละของผลการพัฒนาความรับผิดชอบของนักศึกษา ในการส่งใบงาน และ แบบฝึกหัดท้ายบท รายวิชา การส่งเสริมการขาย รหัส – ของนักศึกษาห้อง กข จำนวน 14 คน ผลการพัฒนา ความรับผิดชอบ การส่งใบงาน การส่งแบบฝึกหัด รวมคิดเป็น ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 12 85.72 ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2 14.28
8
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
จากตาราง แสดงให้เห็นว่า การใช้ตารางการส่งงาน สามารถพัฒนาความรับผิดให้เกิดขึ้นกับนักศึกษาได้ เนื่องจาก ผลการส่งงานทั้งการส่งใบงาน และส่งแบบฝึกหัดท้ายบท ของนักศึกษา กข จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 65
9
สรุปผลการศึกษา ผลการใช้ตารางการส่งงาน สามารถพัฒนาความรับผิดให้เกิดขึ้นกับนักศึกษาได้ เนื่องจาก ผลการส่งงานทั้งการส่งใบงาน และส่งแบบฝึกหัดท้ายบท ของนักศึกษา กข จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 65
10
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย
1. ผู้สอนมีแนวทางการพัฒนาความรับผิดชอบที่เป็น แบบอย่างให้กับผู้ที่สนใจ จะได้นำไปใช้ในรายวิชาอื่นได้ 2. ผู้เรียนมีแนวทางในการบันทึกความจำของตนเอง เกี่ยวกับการส่งงาน โดยนำไปใช้ในรายวิชาอื่นได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.