งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6 ด. ญ. วลารี วงค์ตัน เลขที่ 33 ม 3/6

2 เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบ หนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอด อารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การ ใช้เสียง ระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความ ตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อ สร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดีย อย่างเหมาะสมย่อมสร้าง ความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจ ให้กับผู้ชมงานนำเสนอได้ โดยเนื้อหาบทนี้จะกล่าวถึง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับออดิโอ

3 ทำความรู้จักกับเสียง (Sound) เสียง (Sound) อยู่ในรูปแบบของ พลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความ ร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอด จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิด จากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ ประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และ ความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ตัวอย่างเช่น เมื่อสั่นกระดิ่ง จะเกิดเป็นพลังงานเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็น อากาศเพื่อถ่ายทอดพลังงานดังกล่าว และ สะท้อนมายังหูของมนุษย์ เป็นต้น โดยปกติมนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่ อยู่ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์ ในปัจจุบัน เทคโนโลยีการผลิตเสียงได้เข้ามีบทบาทในการ ใช้ชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก

4 องค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งาน บนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการ บันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการ เหล่านี้จำเป็น ต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและ แปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทาง ไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer) ไมโครโฟน (Microphone) \

5 อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง (Volumn) จังหวะ (Tempo) และระงับเสียง (Mute) ซึ่งการ แก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มเอฟเฟ็กต์เสียงแบบพิเศษ เช่น เสียงคอรัส เสียงเอคโค หรือเสียงจากอุปกรณ์ ไฟฟ้าได้ จากนั้นแทร็กเหล่านี้จะถูกผสมผสานในช่องสัญญาณ หากเป็นระบบเสียงสเตอริโอจะใช้ 2 ช่องสัญญาณ แต่ถ้าเป็นระบบเสียงเซอราวด์จะใช้มากกว่า 2 ช่องสัญญาณขึ้นไป

6 สรุป เสียง (Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงาน ด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อม สร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจแก่ผุ้ชมงานนำเสนอได้ เสียง (Audio) อยู่ในรู ) ของแบบพลังงาน (Energy) เหมือนพลังงาน ความร้อน (Hert) และพลังงานแสง (Light) ที่สามรรถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิด จากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงให้อยู่ในรูปแบบคลื่นเสียงประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) โดนปกติกมนุษย์ สามมารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮริต์

7 จบการ นำเสน อ


ดาวน์โหลด ppt สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google