ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ภาษาท้องถิ่น (ภาคอีสาน)
2
ภาษาท้องถิ่น (ภาคอีสาน)
นาย ชยุต สิทธิจจรรยากุล ม.5/6 เลขที่ 3 นาย ธารเทพ ลิ้มวุฒิวงศ์ ม.5/6 เลขที่ 8 นาย ปุริม ฉิมคล้าย ม.5/6 เลขที่ 9 นาย สมรัช ด่านนรเวชสนธิ ม.5/6 เลขที่ 21 นาย ธีรสิทธิ รังแก้ว ม.5/6 เลขที่ 23 นาย วุฒิภัทร ต้อยปาน ม.5/6 เลขที่ 25 นาย ธราดล พรรณโรจน์ ม.5/6 เลขที่ 29
3
อีสาน ภาษาถิ่นอีสานของประเทศไทยมีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาที่พูดที่ใช้กันในประเทศลาว แต่ภาษาอีสานก็ยังถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาไทย ภาษาถิ่นอีสานมีภาษาถิ่นย่อยหลายภาษา ได้แก่ ภาษาที่ชนกลุ่มใหญ่ในภาคอีสานใช้พูดจากัน ซึ่งใช้สื่อสารอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคอีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สกลนคร หนองคาย นครพนม ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด เลย ชัยภูมิ มหาสารคาม กาฬสินธุ์ เป็นต้น
4
ซึ่งใช้สื่อสารอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคอีสาน
หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สกลนคร หนองคาย นครพนม ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด เลย ชัยภูมิ มหาสารคาม กาฬสินธุ์ เป็นต้น
5
กะปอม = กิ้งก่า เกิบ = รองเท้า จังได๋ = อย่างไร จ่อย = ผอม แถน = เทวดา บักหุ่ง = มะละกอ
ท่ง = ทุ่ง จังซั่น = อย่างนั้น เบิ่ง = ดู อร่อยจริงๆ = แซบอีหลี ผู้ใด๋ = ใคร เซา = หยุด ม่วน, ม่วนหลาย = สนุก,สนุกมาก ย่าง = เดิน แลนหนี = วิ่งหนี
6
วัฒนธรรมการกินของภาคอีสาน
สภาพภูมิศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานมีผลต่อ อาหารการกินของคนท้องถิ่นอย่างมาก เนื่องจากพื้นที่บางแห่งแห้งแล้ง วัตถุดิบที่นำมาประกอบอาหารซึ่งหาได้ตามธรรมชาติส่วนใหญ่ ได้แก่ ปลา แมลงบางชนิด พืชผักต่าง ๆ การนำวิธีการถนอมอาหารมาใช้เพื่อ รักษาอาหารไว้กินนาน ๆ
7
ชาวอีสานจะมีข้าวเหนียวนึ่งเป็นอาหารหลักเช่นเดียวกับภาคเหนือ เนื้อสัตว์ที่นำมาปรุงอาหาร ได้แก่ สัตว์ที่หามาได้ เช่น กบ เขียด แย้ แมลงต่าง ๆ ที่มาของรสชาติอาหารอีสาน เช่น รสเค็มได้จากปลาร้า รสเผ็ดได้จากพริกสดและพริกแห้ง
8
รสเปรี้ยวได้จากมะกอก ส้มมะขาม และมดแดง ในอดีตคนอีสานนิยม หมักปลาร้าไว้กินเองเพราะมีปลาอุดมสมบูรณ์ ประกอบกับเป็นแหล่ง เกลือสินเธาว์ ทำให้การทำปลาร้าเป็นที่แพร่หลายมาก จากปลาร้า พื้นบ้านอีสานได้มีการพัฒนา ทั้งวิธีการทำและรสชาติ จนกลายเป็น ตำรับปลาร้าที่ส่งขายต่างประเทศในปัจจุบัน
9
วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับที่อยู่อาศัย
เรือนไทยภาคอีสาน เป็นหนึ่งในเรือนไทย 4 ภาคของไทย แบ่งออกได้เป็นการ ปลูกเรือนในลักษณะชั่ว คราว กึ่งถาวร หรือ เรือนถาวรประเภทของเรือน อีสาน
10
เอกลักษณ์ของเรือนไทยภาคอีสาน
มีลักษณะเด่นอยู่ 3 ประเภท คือ 1.ไม่นิยมทำหน้าต่างทางด้านหลังตัวเรือน ถ้าจะทำจะเจาะเป็นช่องเล็กๆ พอให้ ยี่นศีรษะออกไปได้เท่า นั้น 2.ไม่นิยมต่อยอดป้านลมให้สูงขึ้นไป เหมือนเรือนของชาวไทยล้านนา ที่เรียกว่า 'กาแล' 3.ไม่นิยมตั้งเสาเรือนบนตอม่อ เหมือนเรือนของชาวไทยมุสลิมทางภาคใต้ ด้วย เหตุที่ชาวไทยภาค อีสานปลูกเรือนด้วยการฝังเสา จึงไม่มีการตั้งบนตอม่อ
11
เพลงกล่อมเด็กกาเหว่า กาเหว่าเอย ไข่ให้แม่กาฟัก
แม่กาหลงรัก คิดว่าลูกในอุทร คาบข้าวมาเผื่อ คาบเหยื่อมาป้อน ปีกหางเจ้ายังอ่อน สอนร่อนสอนบิน แม่กาพาไปกิน ที่ปากน้ำแม่คงคา ตีนเหยียบสาหร่าย ปากก็ไซ้หาปลา กินกุ้งกินกั้ง กินหอยกระพังแมงดา กินแล้วบินมา จับต้นหว้าโพธิทอง นายพรานเห็นเข้า เยี่ยมเยี่ยมมองมอง ยกปืนขึ้นส่อง หมายจ้องแม่กาดำ ตัวหนึ่งว่าจะต้ม ตัวหนึ่งว่าจะยำ แม่กาตาดำ แสนระกำใจเอย
12
THANK YOU FOR WATCHING
13
ข้อมูลไม่ครบ ขาดบทสนทนา คำคล้องจอง สรุป ภาษาและวัฒธรรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.